Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
CKD stage 5 with Volume Overload - Coggle Diagram
CKD stage 5 with Volume Overload
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
1.มีภาวะของเสียคั่งในร่างกายเนื่องจากไตสูญเสียหน้าที่
ข้อมูลสนับสนุน
OD
I/O intake 150 ml/เวรเช้า ไม่มี output (27/10/63)
มีภาวะบวม กดบุ๋ม +2
BUN = 26.3 mg/dL, Creatinine = 3.65 mg/dL (ค่าสูงกว่าปกติ) (25/10/63)
วัตถุประสงค์ :
เพื่อให้ผู้ป่วยมีภาวะของเสียคั่งในร่างกายลดลง
เกณฑ์การประเมินผล
I/O negative
ระดับ pitting edema ลดลง
ค่า BUN และ Creatinine อยู่ในเกณฑ์ที่แพทย์รับได้
แผนการพยาบาล
1.บันทึกปริมาณน้ำเข้า-น้ำออก เพื่อประเมินการคั่งของเสียในร่างกาย
2.ประเมินและบันทึกอาการบวม โดยกดบริเวณหน้าแข้งและหลังเท้าทุกวัน เพื่อประเมินการคั่งของเสียในร่างกาย
1+ กดบุ๋มลงไป 2 mm มองไม่เห็นชัดเจน รอยบุ๋มหายไปเร็ว
2+ กดบุ๋มลงไป 4 mm สังเกตได้ยาก หายไปใน 15 sec
3+ กดบุ๋มลงไป 6 mm สังเกตได้ชัด คงอยู่นานกว่า 1 min มองดูพบว่าขาบวมชัดเจน
4+ กดบุ๋มลงไป 8 mm รอยบุ๋มลึกชัดเจน อยู่นานประมาณ 2-5 min
3.จัดให้นอนศีรษะสูง 30-45 องศา เพื่อลดปริมาณเลือดกลับเข้าสู่หัวใจ
4.จำกัดน้ำ 800 ml/day ตามแผนการรักษา เพื่อลดการคั่งของเสียในร่างกาย
5.ดูแลผู้ป่วยให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
Femide 500 MG,TAB.(Furosemide 500 MG.TAB) 1x1 po pc
6.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการทำ hemodialysis 3 วัน/สัปดาห์ ทุกวันจันทร์ พุธ ศุกร์ ตามแผนการรักษาของแพทย์ เพื่อลดการคั่งของเสียในร่างกาย
7.ติดตามผลทางห้องปฎิบัติการตามเกณฑ์ที่แพทย์รับได้ เช่น ฺBUN, Creatinine เพื่อประเมินประสิทธิภาพการขับน้ำของไต
การประเมินผล(27/10/63)
I/O negative intake 150 ml/เวรเช้า ไม่มีปัสสาวะ ส่งต่อเวรบ่าย 650 ml
ระดับ pitting edema +2
BUN = 26.3 mg/dL, Creatinine = 3.65 mg/dL (ค่าสูงกว่าปกติ) (25/10/63)
2.เสี่ยงต่อการเกิดอันตรายจากภาวะความดันโลหิตสูง
ข้อมูลสนับสนุน
OD
SBP = 201 mmHg (10.00 27/10/2563)
วัตถุประสงค์ในการพยาบาล
ไม่เกิดอันตรายจากภาวะความดันโลหิตสูง
เกณฑ์การประเมิน
1.ไม่มีอาการปวดศีรษะคลื่นไส้อาเจียน กระสับกระส่าย
2.สัญญาณชีพ ความดันโลหิตอยู่ในช่วง 90-160/60-100 mmHg , Pulse อยู่ในช่วง 60-100 mmHg.,RR อยู่ในช่วง 12-20 bpm. และ O2 Saturation = 95-100%
กิจกรรมทางการพยาบาล
1.ประเมินอาการปวดศีรษะ ปวดบริเวณท้ายทอย คลื่นไส้อาเจียน กระสับกระส่ายเนื่องจากเป็นอาการที่แสดงถึงภาวะความดันโลหิตสูง และแนะนำให้ผู้ป่วยสังเกตอาการตนเอง
2.ดูแลจัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบ ปิดม่านป้องกันแสง เพื่อให้ผู้ป่วยได้นอนหลับพักผ่อนอย่างเพียงพอและแนะนำให้ผู้ป่วยนอนหลับพักผ่อนในเวลากลางคืนอย่างน้อย 6-8 ชั่วโมง และงีบหลับในตอนกลางวันไม่น้อยกว่า 1 ชั่วโมง
4.แนะนำผู้ป่วยเรื่องการรับประทานอาหารและน้ำ จำกัดน้ำดื่ม หลีกเลี่ยงอาหารรสเค็มหรือมี Na สูง เช่น อาหารสำเร็จรูป ผักกาดดอง ปลากระป๋อง ปลาแดดเดียว เป็นต้น เพื่อลดการคั่งของเสีย และรับประทานโปรตีนย่อยได้ง่ายคุณภาพดี เช่น ไข่ขาว ปลา (จำพวกปลาน้ำจืดจะมี Na น้อยกว่าปลาน้ำทะเล) ไก่ เป็นต้น
5.ติดตามวัดและบันทึก vital sign ทุก 4 ชั่วโมง เพื่อดูความดันโลหิต
6.แนะนำผู้ป่วยเรื่องการรับประทานอาหารสำหรับผู้ป่วยความดันโลหิตสูง เพื่อลดความดันโลหิตสูง
น้ำ
จำกัดน้ำ < 800 ml/day
หลีกเลี่ยงอาหารรสเค็มหรือมี Na สูง
อาหารสำเร็จรูป ผักกาดดอง ปลากระป๋อง ปลาแดดเดียว
รับประทานโปรตีนย่อยได้ง่าย
ไข่ขาว ปลา (จำพวกปลาน้ำจืดจะมี Na น้อยกว่าปลาน้ำทะเล) ไก่
7.ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา เพื่อลดความดันโลหิต
Madiplot 20 MG.TAB.รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง หลังอาหารเช้า (Hold if SBP < 140 วัน HD)
Apresoline 25 MG.TAB รับประทานครั้งละ 2 เม็ด วันละ 4 ครั้ง หลังอาหาร เช้า กลางวัน เย็น และก่อนนอน
การประเมินผล(27/10/63)
-ไม่มีอาการปวดศีรษะ คลื่นไส้อาเจียน กระสับกระส่าย ตาพร่า
สัญญาณชีพ ความดันโลหิต = 137/53 mmHg 14.00 น.
5.เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุพลัดตกหกล้ม เนื่องจากช่วยเหลือตนเองได้น้อย
ข้อมูลสนับสนุน
SD
ผู้ป่วยบอกว่า ขยับตัวได้เล็กน้อย ต้องมีคนช่วย
ผู้ป่วยบอก ยังยกขา ยกแขนได้
OD
ผู้ป่วยสามารถพลิกตะแคงได้ แต่ต้องมีคนช่วย
ผู้ป่วยตักอาหารกินเองได้
ผู้ป่วยช่วยเหลือตนเองได้แค่บนเตียง
fall score = 4 คะแนน (Low risk)
วัตถุประสงค์
ผู้ป่วยปลอดภัย ไม่เกิดอุบัติเหตุพลัดตกหกล้ม
ผู้ป่วยไม่บาดแผลขึ้นตามร่างกาย
ผู้ป่วยไม่มีการตกเตียง
การพยาบาล
1.ประเมินความเสี่ยงการเกิดอุบัติเหตุพลัดตกหกล้ม (fall score) เพื่อประเมินการเกิดอุบัติเหตุ
2.ตรวจสอบความแข็งแรงของไม้กั้นเตียง ถ้ามีการเลื่อนหลุดต้องมีการแก้ไข เพื่อป้องกันการตกเตียง
ยกไม้กั้นเตียงขึ้นทั้งสองข้างทุกครั้ง เพื่อป้องกันการตกเตียง
4.จัดวางสิ่งของข้างเตียงให้ผู้ป่วยสามารถหยิบใช้ได้สะดวก เพื่อป้องกันการเอื้อมหยิบของ ทำให้เกิดการตกเตียงได้
5.จัดสิ่งแวดล้อมบนเตียงให้ปลอดภัย หลี่กเลี่ยงการวางสิ่งของไม่เป็นที่ เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ
6.จัดสัญญาณเรียกพยาบาลไว้ใกล้มือผู้ป่วย ถ้าผู้ป่วยต้องการความช่วยเหลือ ให้กดสัญญาณเรียกได้ตลอดเวลา
7.ตรวจเยี่ยมผู้ป่วยทุก 2 ชั่วโมงหรือตามความเหมาะสม เพื่อเฝ้าระวังการเกิดอุบัติพลัดตกหกล้ม
เกณฑ์การประเมิน
-ผู้ป่วยไม่เกิดอุบัติเหตุหกล้ม
ผู้ป้วยไม่มีบาดแผลเพิ่มเติมตามร่างกาย
ผู้ป่วยไม่ตกเตียง
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลข้อที่ 10
10.ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการเกิด Cellulitis
ข้อมูลสนับสนุน
OD
ผู้ป่วยมี serum leak ออกมาจากแผลตรงผิวหนังข้อพับแขนซ้ายชุ่ม Gauze ภายใน 4 ชั่วโมง
ผู้ป่วยมี serum leak ออกมาจากแผลที่แขนขวา
ผิวหนังของผู้ป่วยมีลักษณะแห้ง บาง เป็นขุย
วัตถุประสงค์
เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยเป็น cellulitis
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยมี serum leak ออกมาจากแผลลดลง
ผู้ป่วยมีผิวหนังชุ่มชื้น ผิวหนังไม่บางและแห้ง
แผนการพยาบาล
4.ทำความสะอาดร่างกาย สิ่งแวดล้อม และปฏิบัติตามหลัก Universal precaution
1.สังเกตและประเมินภาวะบวม กดบุ๋ม สังเกตบริเวณผิวหนังและบาดแผลว่ามี serum leak ชุ่ม Top gauze หรือมีบาดแผลใหม่เกิดขึ้นที่ผิวหนัง
6.อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติเข้าใจการปฏิบัติตัว เช่น ล้างมือก่อนและหลังเข้าเยี่ยม
3.Dressing แผลทุกวัน สังเกตลักษณะของแผลว่ามี serum leak ออกมาจากบาดแผลทางผิวหนัง และสังเกตลักษณะของแผลว่าอักเสบ บวม แดงหรือไม่
5.บันทึกและวัดขนาดของแผลหลัง dressing เพื่อประเมินการหายของแผลในแต่ละวัน
7.ดูแลและให้คำแนะนำป้องกันไม่ให้ผิวหนังแห้ง บางและเป็นขุย เพื่อไม่ให้เกิดแผล ดังนี้
ทำความสะอาดบริเวณผิวหนัง
ดูแลให้ผู้ป่วยทา lotion ที่ผิวหนังอย่างสม่ำเสมอ
2.ทำความสะอาดร่างกาย สิ่งแวดล้อม และปฏิบัติตามหลัก personal hygiene
การประเมินผล(28/10/63)
ผู้ป่วยไม่มีอาการที่แสดงถึงการเกิด cellulitis
serum leak ที่แขนซ้ายและแขนขวาลดลงไม่ชุ่มก๊อซ
ผู้ป่วยไม่เกิดแผล serum แผลใหม่ตามร่างกาย
9.ผู้ป่วยมีภาวะความดันลูกตาสูง
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยบอกว่ามีอาการปวดตาเวลาเพ่งนาน
ผู้ป่วยเป็นโรคต้อหินชนิดมุมเปิด(Open Angle Glaucoma)
วัตถุประสงค์
เพื่อป้องกันไม่ให้ความดันลูกตาสูงกว่าค่าเดิม
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยมีความดันลูกตาลดลง <20
แผนการพยาบาล
1.สังเกตและสอบถามผู้ป่วยร่วมกับตรวจร่างกายถึงอาการที่เกิดขึ้นดังต่อไปนี้
1.1)อาการปวดตาร่วมกับอาการปวดเวียนศีรษะ เวียนศีรษะ
2.ตาพร่ามัว
3.ลานสายตาแคบสามารถทราบได้ได้โดยการทดสอบ Visual field test
2.ให้ผู้ป่วยหลีกเลี่ยงไม่ให้ก้มศีรษะต่ำกว่าเอว
3.ให้ผู้ป่วยหลีกเลี่ยงการไอ จาม เวลาเบ่งถ่าย เพราะจะทำให้ความดันในลูกตาสูงขึ้นได้
4.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาหยอดตาตามแผนการรักษา คือ Xalatan 0.005% OPHTH.SOLN. 1X1 hs เพื่อลดความดันในลูกตา
5.อำนวยความสะดวกให้ผู้ป่วยโดยจัดวางของไว้บริเวณหัวเตียงเพื่อให้ผู้ป่วยหยิบใช้ได้ง่าย
7.ผู้ป่วยขาดความรู้เกี่ยวกับการรักษาโรคไต
ข้อมูลสนับสนุน
SD. : ผู้ป่วยเคยรับประทานยาต้มจากที่ญาติซื้อมาให้ ~ 2 เดือน
SD : ผู้ป่วยบอกว่าไม่ทราบว่าตนเองควรปฏิบัติตัวอย่างไร ควรรับประทานอาหารอะไรที่เหมาะกับโรค
OD : ผู้ป่วยตอบคำถามไม่ได้ว่าโรคไตมีกี่ระยะ
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้ป่วยมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเกี่ยวกับโรคที่เป็นและการรับประทานยา
ผู้ป่วยสามารถตอบคำถามได้ 4 จาก 5 ข้อ
วัตถุประสงค์ในการพยาบาล
เพื่อให้ผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเกี่ยวกับโรคที่เป็น
แผนการพยาบาล
1.ให้ความรู้ผู้ป่วยเกี่ยวกับโรค สาเหตุการเกิดโรค การรักษาด้วยยา ชนิดของยา วิธีใช้ และฤทธิ์ข้างเคียงของยา
2.แนะนำวิธีการปฏิบัติตัวเมื่อได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม ทั้งก่อนการฟอกเลือด ขณะฟอกเลือดและหลังการฟอกเลือด
ประเมินผลหลังการสอน และให้สอนซ้ำในด้านที่ผู้ป่วยไม่เข้าใจ
4.ให้ผู้ป่วยปฏิบัติตนตามแผนการรักษาโดยประเมินปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติตามแผนการรักษา
4.1 ความรู้ความเข้าใจในแผนการรักษาและการรับประทานยาที่เหมาะสม
4.2 ความเชื่อมั่นต่อบุคลากรด้านสุขภาพ
การประเมินผล(27/10/63)
-ผู้ป่วยสามารถประเมินความรู้เกี่ยวกับโรคที่เป็น สาเหตุ การรักษาและการปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง
4.ผู้ป่วยมีภาวะ bradycardia
ข้อมูลสนับสนุน
OD
ผล EKG พบ Atrial fibrillation (Bradycardia)
Pulse = 46 ครั้ง/นาที (27/10/63)
ผู้ป่วยมี Pulse irregular ชนิด Bradycadia
วัตถุประสงค์
ผู้ป่วยไม่มีภาวะแทรกซ้อนจากหัวใจเต้นผิดจังหวะ
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้ป่วยไม่มีอาการใจสั่น แน่นอก หอบเหนื่อย เหงื่อออก หน้ามืด วูบ
Pulse > 40 ครั้ง/นาที ตามที่แพทย์รับได้
การพยาบาล
2.ประเมินสัญญาณชีพ ทุก 4 ชั่วโมง โดยเฉพาะอัตราการเต้นของหัวใจ เพื่อประเมินอาการหัวใจเต้นผิดจังหวะ ฺBradycadia
1.สังเกตอาการผิดปกติ ได้แก่ ใจสั่น แน่นอก หอบเหนื่อย เหงื่อออก หน้ามืด วูบ เพื่อประเมินอาการหัวใจเต้นผิดจังหวะ
3.ดูแลให้ผู้ป่วย on Telemetry อย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่ สายต่อ telemetry ไม่เลื่อนหลุด และดูว่าเครื่องยังสามารถใช้งานได้ แบตเตอรี่ไม่หมด เพื่อส่งเสริมการเฝ้าระวังอาการ bradycardia
5.ติดตามผล EKG เพื่อติดตามผลการเต้นของหัวใจ
4.ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา เพื่อป้องกันภาวะ braddycadia
Dopamine 2:1 rate 10 ml/hr
6.แนะนำให้ผู้ป่วยสังเกตอาการ และอาการแสดงของหัวใจเต้นผิดจังหวะ ได้แก่ อาการใจสั่น เวียนศีรษะ วูบในอก ลักษณะคลื่นไฟฟ้าหัวใจผิดปกติ พร้อมทั้งแจ้งให้ทราบหากมีอาการ
การประเมินผล (27/10/63)
ผู้ป่วยไม่มีอาการใจสั่น แน่นอก หอบเหนื่อย เหงื่อออก หน้ามืด วูบ
Pulse = 46 ครั้ง/นาที อยู่ในเกณฑ์ที่แพทย์รับได้
6.ผู้ป่วยมีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการทำ pacemaker
ข้อมูลสนับสนุน
SD
ผู้ป่วยถามว่า ทำตรงไหน เจ็บมากไหม
OD
ผล EKG พบ Atrial fibrillation (Brady)
ผู้ป่วยมี Pulse irregular ชนิด Bradycadia
ผู้ป่วยไม่ทราบว่าต้องทำผ่าตัดที่ตรงไหน ทำเพื่อเหตุผลอะไร
สีหน้าผู้ป่วยมีความกลัว วิตกกังวล
วัตถุประสงค์
ผู้ป่วยไม่วิตกกังวลเกี่ยวกับการทำ pacemaker
เกณฑ์การประเมิน
สีหน้าไม่กังวล
ผู้ป่วยและญาติเข้าใจถึงเหตุผลของการใส่ pacemaker ได้
แผนการพยาบาล
1.ประเมินระดับความวิตกกังวลของผู้ป่วยเพื่อวางแผนการพยาบาล
2.ให้ผู้ป่วยได้พูดคุย ระบายความรู้สึกเกี่ยวกับความกลัวการทำ pacemaker เพื่อลดความวิตกกังวล
3.อธิบายผู้ป่วยและญาติเกี่ยวกับเหตุผลที่ต้องใส่ pacemaker เนื่องจากผู้ป่วยเป็น AF มี Pulse irregular ชนิด Bradycadia ทำให้มี pulse ต่ำและไม่สม่ำเสมอ และผู้ป่วยยังต้องทำ HD จึงอาจทำให้ pulse ต่ำลงได้อีก ซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อผู้ป่วยได้ จึงต้องใส่ pacemaker เพื่อกระตุ้นการเต้นของหัวใจ
4.ให้ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวก่อนทำ pacemaker
งดอาหารและเครื่องดื่ม (NPO) 6-8 ชั่วโมงก่อนเข้ารับการทำ pacemaker เพื่อป้องกันการสำลักอาหาร และติดเชื้อลงปอด
งดยาตามแผนการรักษาของแพทย์ เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังทำ pacemaker
ถอดเครื่องประดับต่างๆและถอดฟันปลอม และอุปกรณ์อื่นๆเก็บไว้ที่ห้องพัก เพื่อป้องกันการเกิดผลกระทบต่อการทำ pacemaker
ดูแลให้ญาติและผู้ป่วยเซ็นใบยินยอมการทำ pacemaker ก่อนการทำ เพื่อเป็นหลักฐานหากมีความผิดพลาดในการทำ pacemaker
clean and shave บริเวณที่ทำ โดยจะโกนขนบริเวณหน้าอกข้างที่จะใส่เครื่อง pacemaker
on IV ให้ 0.9 NSS บริเวณแขนข้างขวา
4.ให้ความรู้เกี่ยวกับขั้นตอนการทำ pacemaker
การฝังเครื่องกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจแบบใส่สายสื่อสัญญาณที่เยื่อบุหัวใจ แพทย์จะใส่สายสื่อสัญญาณไฟฟ้าซึ่งเป็นสายไฟที่มีฉนวนหุ้มเข้าไปยังหัวใจผู้ป่วยผ่านทางหลอดเลือดดำ เมื่อสายสื่อสัญญาณเข้าไปถึงหัวใจแล้ว แพทย์จะวางปลายอีกด้านหนึ่งของสายสื่อบนกล้ามเนื้อหัวใจโดยอาศัยภาพจากเอกซเรย์ช่วยให้วางตำแหน่งที่ถูกต้อง หลังจากนั้นแพทย์จะฝังเครื่องส่งสัญญาณไว้ใต้ผิวหนังบริเวณหน้าอกของผู้ป่วยใต้กระดูกไหปลาร้าด้านซ้ายหรือขวาตามความเหมาะสม แล้วทำการต่อเครื่องส่งสัญญาณและสายสื่อเข้าด้วยกัน ระหว่างที่ทำผู้ป่วยอาจรู้สึกว่ามีแรงกดเล็กน้อยระหว่างที่แพทย์ใส่สายสื่อสัญญาณและตัวเครื่องส่งสัญญาณเข้าไปในร่างกาย เมื่อใส่เครื่องกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจเรียบร้อยแล้ว แพทย์จะตรวจสอบภาพเอกซเรย์หัวใจเพื่อดูให้มั่นใจว่าเครื่องและสายสื่ออยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสม
5.ให้ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวหลังทำ pacemaker
พบแพทย์เพื่อติดตามการทำงานของเครื่อง และแผลผ่าตัด ช่วงแรกจะนัดประมาณ 2 สัปดาห์ 3 เดือน หลังจากการทำงานของเครื่อง และแผลปกติ จะนัดติดตามอาการทุก ๆ 6 เดือน
หลีกเลี่ยงการอยู่ใกล้แหล่งที่มีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแรงสูง เช่น ลำโพงตัวใหญ่ เสาไฟฟ้าแรงสูง หรือเครื่องตรวจวัตถุที่ท่าอากาศยาน
รีบพบแพทย์หากบริเวณแผลที่ใส่เครื่องกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจ มีอาการปวด บวม หรือมีอาการที่สงสัยเกิดจากการทำงานของเครื่องผิดปกติ
การประเมินผล (27/10/63)
ผู้ป่วยได้ปฏิบัตืตัวก่อนทำ pacemaker ครบถ้วน
แพทย์ off การผ่าตัด pacemaker
ผู้ป่วย และญาติได้รับทราบเหตุผลที่ต้องใส่ pacemaker
3.เสี่ยงต่อภาวะพร่องออกซิเจน เนื่องจากมีภาวะน้ำเกิน
ข้อมูลสนับสนุน
OD
ผู้ป่วยหายใจ room air ไม่ได้ O2 saturation = 92%
บวม กดบุ๋ม +2
I/O positive
วัตถุประสงค์
ป้องกันไม่ให้เกิดภาวะพร่องออกซิเจน
เกณฑ์การประเมินผล
O2 saturation = 95-100%
อัตราการหายใจ = 12-22 ครั้ง/นาที
ผู้ป่วยไม่มีอาการหายใจหอบเหนื่อย ปลายมือปลายเท้าไม่เขียวไม่ซีด
แผนการพยาบาล
1.สังเกตอาการหายใจหอบเหนื่อย การมีเสมหะ ปลายมือปลายเท้าเขียว ซีด เพื่อประเมินอาการพร่องออกซิเจน
2.ประเมินสัญญาณชีพ ทุก 4 ชั่วโมง โดยเฉพาะอัตราการหายใจ = 12-22 ครั้ง/นาที และ O2 satulation = 95-100 % เพื่อประเมินอาการพร่องออกซิเจน
3.จัดให้นอนศีรษะสูง 30-45 องศา เพื่อเปิดทางเดินหายใจให้สะดวก และลดปริมาณเลือดกลับเข้าสู่หัวใจ
4.ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษา คือ cannula 3 LPM เพื่อส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
5.Record I/O น้ำเข้า-น้ำออกทุก 24 ชั่วโมง เพื่อประเมินภาวะน้ำเกิน หากมี I/O positive
6.ประเมินและบันทึกอาการบวม โดยกดบริเวณหน้าแข้งและหลังเท้าทุกวัน เพื่อประเมินภาวะน้ำเกิน
1+ กดบุ๋มลงไป 2 mm มองไม่เห็นชัดเจน รอยบุ๋มหายไปเร็ว
2+ กดบุ๋มลงไป 4 mm สังเกตได้ยาก หายไปใน 15 sec
3+ กดบุ๋มลงไป 6 mm สังเกตได้ชัด คงอยู่นานกว่า 1 min มองดูพบว่าขาบวมชัดเจน
4+ กดบุ๋มลงไป 8 mm รอยบุ๋มลึกชัดเจน อยู่นานประมาณ 2-5 min
การประเมินผล(27/10/63)
O2 saturation = 96 %
ผู้ป่วยมีอาการไม่มีหายใจหอบเหนื่อย นอนหัวสูงไม่มีลิ้นจุกปาก
ไม่มีอาการปลายมือปลายเท้าเขียว ซีด
อัตราการหายใจ = 18 ครั้ง/นาที
11.ผู้ป่วยเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนหลังทำ Hemodialyte
ข้อมูลสนับสนุน
OD
BP หลังจากการฟอกไต = 148/58
Pulse หลังจากการฟอกไต = 50 ครั้ง/นาที
ผู้ป่วยทำ Hemodialyte ทุกจันทร์ พุธ ศุกร์
ไม่มีเลือดออกบริเวณ Perm. Cath
วัตถุประสงค์
ผู้ป่วยไม่มีภาวะแทรกซ้อน ระดับความรู้สึกตัวดี
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยไม่มีภาวะแทรกซ้อนหลังจากการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
แผนการพยาบาล
1.ประเมินความรู้สึกตัวของผู้ป่วย เรียกผู้ป่วยเพื่อดูการตอบสนอง
3.ประเมินสัญญาณชีพที่ monitor ไว้ตลอดเวลา โดยเฉพาะความดันโลหิตต่ำ ควร keep ความดันโลหิตตัวบนไว้ที่ 150-90 และความดันโลหิตตัวล่าง 90-60
2.จัดท่าผ้ป่วยให้อยู่ในท่า Fowler's position 30-45 องศา เพื่อให้ผูป่วยหายใจได้สะดวก
5.ตรวจดูบริเวณแทงเข็มว่าไม่มีเลือดออกเพื่อประเมินภาวะ bleeding
6.ระวังการกดทับและการกระทบกระแทกบริเวณ perm cath. ที่ด้านขวาของผู้ป่วย ควรจัดท่าให้ผู้ป่วยนอนหงายและตะแคงซ้าย
7.เฝ้าระวังภาวะ Hypoglycemia เช่น หน้ามืด เหงื่อออก ความดันตัวบนต่ำ จนไปถึงภาวะ shock
8.จัดให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารและน้ำดื่มหลังการฟอกเลือดเพื่อป้องกันการเกิดภาวะ Hypoglycemia
4.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการ flush heparin เพื่อป้องกัน blood clot
การประเมินผล(26/10/63)
ผู้ป่วยไม่มีภาวะแทรกซ้อน ระดับความรู้สึกตัวดี เรียกตื่น ความดันอยู่ตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้
BP = 148/58 mmHg.
Problem list
ผู้ป่วยมีภาวะบวม กดบุ๋ม +2
ผู้ป่วยมีภาวะแทรกซ้อนหลังทำ Perm Cath
ผู้ป่วยมี serum ซึมออกมากจากผิวหนังแขนข้างซ้ายและข้างขวา
ผู้ป่วยเสี่ยงต่อภาวะพร่อง O2
ผู้ป่วยช่วยเหลือตนเองได้น้อย
อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังการทำ Hemodialysis
ผู้ป่วยเป็นโรคต้อหินชนิด Open angle glaucoma
ผู้ป่วยมีภาวะ bradycardia
ผู้ป่วยมีภาวะ Hypoglycemia
ผู้ป่วยมีภาวะน้ำเกิน
มีภาวะไตสูญเสียหน้าที่
การดูแลผู้ป่วยก่อนทำ Pacemaker
Lab
26/10/63
Complete Blood Count
Hemoglobin(Hb) = 9.9 g/dL ค่าปกติ 12.3-15.5 g/dL
Hematocrit(Hct) = 30.9 % ค่าปกติ 36.8-46.6 %
RBC = 3.64 10^6 / uL ค่าปกติ 3.96-5.29 10^6/uL
Neutrophil = 80.9 % ค่าปกติ 48.1-71.2%
Lymphocyte = 8.8% ค่าปกติ 21.1-42.7%
Monocyte = 9.1 % ค่าปกติ 3.3-10.2%
MCV = 84.9 fL
MCH = 27.1 pg
MCHC = 32.0 g/dL
RDW = 17.3 %
NRBC = 0/100 WBC
Correct WBC = 7.57 10^3/uL
: Eosinophil = 0.9 %
Basophil
=
0.3
Platelet Count = 248 10^3/uL
MPV = 10.3 fL
WBC = 7.57 10^3/uL
25/10/63
เคมีคลินิก
BUN = 26.3 mg/dL(ค่าสูงกว่าปกติ)
Creatinine = 3.65 mg/dL
eGFR = 11.96 mL/min (ค่าต่ำกว่าปกติ)
Magnesium = 2.04 mg/dL (ปกติ)
Potassium K = 3.36 (ค่าต่ำกว่าปกติ)
Chloride = 100.7 mmol/L(ค่าต่ำกว่าปกติ)
CO2 = 24.0 mmol/L(ค่าต่ำกว่าปกติ)
Creatinine = 5.58 mg/dL (ค่าสูงกว่าปกติ)
Sodium (Na) = 137 mmol/L
Albumin = 3.1 g/dL(ค่าต่ำกว่าปกติ)
Calcium = 8.2 mg/dL (ค่าต่ำกว่าปกติ)
Phosphorus = 2.3 mg/dL
Magnesium = 2.04 mg/dL
Coagulation test (26/10/63)
PT = 12.7 seconds
INR = 1.11
APTT = 35.0 seconds (ค่าสูงกว่าปกติ)
APTT Ratio = 1.35
ยาและสารน้ำที่ผู้ป่วยได้รับ
Folic Acid 5 MG.TAB.(GPO)
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร เช้า กลางวัน เย็น
คุณสมบัติ
สำหรับโรคโลหิตจางชนิด Megaloblastic ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคลำไส้อักเสบเรื้อรัง ผู้ที่ได้รับยา Methotrexate , Pyrimethamine , Trimethoprim ยากันชัก
อาการการขาด
มีอาการปากเปื่อย ลิ้นอักเสบ ท้องเดิน น้ำหนักตัวลดลง มีอาการทางระบบประสาท โรคโลหิตจางชนิด Megaloblastic anemia
Sodium Bicarbonate 300 MG.TAB
รับประทานครั้งละ 3 เม็ด วันละ 3 ครั้ง หลังอาหารเช้า กลางวัน เย็น
คุณสมบัติ
เป็นขับลม และช่วยให้เกิดภาวะสมดุลของอิเล็กโตรไลท์ในร่างกาย
ผลข้างเคียง
มีอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ เกิดภาวะการเผาผลาญเป็นด่าง (Metabolic alkalosis) ความไม่สมดุลของเกลือแร่ Na มาก Ca และ K ต่ำ
กลไกการออกฤทธิ์
ระยะสั้น สามารถลดกรดในกระเพาะอาหารได้อย่างรวดเร็ว โดยเปลี่ยนให้เป็น NaCl และน้ำ ส่วนที่เหลือจะถูกขับออกทางปัสสาวะ มีปริมาณ Na สูง
Fresolin
รับประทานครั้งละ 2 ซอง หลังอาหาร 1 ซองผสมน้ำ 50 ml
Omeprazole Capsules 20 MG.(GPO)
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันะ 2 ครั้ง ก่อนอาหารเช้า เย็น
ยาลดกรดในกระเพาะอาหาร รักษาแผลในกระเพาะอาหารและในลำไส้เล็กส่วนต้น
Madiplot 20 MG.TAB.
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง หลังอาหารเช้า
ใช้รักษาและลดภาวะความดันโลหิตสูง
Apresoline 25 MG.TAB
Hydralazine 25 MG.TAB
รับประทานครั้งละ 2 เม็ด วันละ 4 ครั้ง หลังอาหาร เช้า กลางวัน เย็น และก่อนนอน
ใช้รักษาและลดภาวะความดันโลหิตสูง
Femide 500 MG.TAB.(Furosemide 500 MG.TAB.)
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง หลังอาหารเช้า
คุณสมบัติ :
ลดบวมจากสาเหตุ ตับแข็ง หัวใจวาย และโรคไต รวมทั้ง Nephrotic Syndrome ให้ทางหลอดเลือดดำในผู้ป่วย Acute pulmonary edema และใช้ลดความดันโลหิตสูงด้วย
ผลข้างเคียง :
ร่างกายขาดน้ำอย่างรวดเร็ว ปริมาณเลือดไหลเวียนลดต่ำผิดปกติ ความดันโลหิตต่ำเมื่อเปลี่ยนท่า ทำให้มีอาการมึนงง สับสน มีอาการสูญเสียโซเดียม โปแตสเซียม และแคลเซียม เช่น อ่อนเพลีย ไม่มีแรง เป็นตะคริว เบื่ออาหาร เป็นต้น นอกจากนี้ยังทำให้มี creatinine , uric , และน้ำตาลในเลือดสูง
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการดูดกลับของ Na และ Cl ที่ Assending limb of Henle's เป็นส่วนใหญ่ โดยยับยั้งการดูดกลับของ Cl จึงมีผลยับยั้งการดูดกลับของโซเดียมด้วย หากให้ยาในขนาดสูง สามารถยับยั้งการดูดกลับของ Na บริเวณ Proximal และ Distal tubule ทำให้ร่างกายเสีย Na และ Cl จำนวนมากออกมาจากปัสสาวะ
Xalatan 0.005% OPHTH.SOLN.(Latanoprost 0.005% OPHTH SOL.)
หยอดตา 2 ข้าง ครั้งละ 1 หยด วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน
ยาลดความดันในลูกตา ชนิด Prostaglandin analog
พยาธิสรีรภาพ
ทฤษฏี
อาการและอาการแสดง
คลื่นไส้ อาเจียน อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร เหนื่อยง่าย
ขาบวม น้ำท่วมปอด
ปัสสาวะบ่อยเวลากลางคืน
ระดับความรู้สึกตัวลดลง ชัก
ความดันโลหิตสูง
Anemia
สะอึกไม่หยุด
คันบริเวณผิวหนัง
Pericardial friction rub
Muscular twitches
Unpleasant taste in the mouth
สาเหตุ
1.ความผิดปกติของหลอดเลือดฝอยในไต เช่น Chronic Glomerulonephritis
2.ความผิดปกติของท่อหน่วยไต เช่น renal tubular acidosis
3.ความผิดปกติของหลอดเลือด เช่น hypertension , arteriosclrosis / glomerulosclerosis จากเบาหวาน
4.โรคติดเชื้อ เช่น pyelonephritis , tuberculosis
5.การอุดกั้นทางเดินปัสสาวะ เช่น นิ่วในไต ท่อปัสสาวะตีบ
6.ความผิดปกติของเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน เช่น scleroderma , lupus nephritis
7.ความผิดปกติแต่กำเนิด เช่น polycystic kidney disease
8.เนื้องอก เช่น multiple myeloma , lymphoma
9.พันธุกรรม
การวินิจฉัยและการแบ่งระยะ
ระยะที่ 1 คือระยะที่ eGFR > 90 ซึ่งหมายถึงการมีความผิดปกติของไต แต่อัตราการกรองของไตอยู่ในเกณฑ์หรืออาจสูงขึ้น
ระยะที่ 2 คือระยะที่ eGFR = 60-89 ซึ่งมายถึงการมีความผิดปกติของไตและค่าอัตราการกรองของไตลดลงเล็กน้อย
ระยะ 3a คือ ระยะที่ eGFR = 45-59 ซึ่งหมายถึงการมีความผิดปกติของไตและค่าอัตราการกรองของไตปานกลาง
ระยะที่ 3b คือระยะ eGFR = 30-44 ซึ่งหมายถึงการมีความผิดปกติของไตและค่าอัตราการกรองของไตลดลงปานกลางถึงรุนแรง ซึ่งระยะนี้ต้องมีคนเฝ้าระวังและให้การรักษาภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น
ระยะที่ 4 ตือระยะที่ eGFR = 15-29 ซึ่งหมายถึง การมีความผิดปกติของไตและค่าอัตราการกรองของไตลดลงอย่างมาก ควรมีการเตรียมความพร้อมเพื่อให้การรักษาทดแทนไตต่อไป
ระยะที่ 5 คือ ระยะที่ eGFR < 15 ซึ่งถือว่าเป็นระยะไตวาย (Kidney failure) ทำให้มีความผิดปกติเกือบทุกระบบของร่างกาย ผู้ป่วยจำเป็นต้องได้รับการบำบัดทดแทนไตโดยเฉพาะรายที่มีอาการ uremia
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
1.การตรวจเลือดหาระดับ BUN (ค่าปกติ 7-20 mg/dl)
2.การตรวจเลือดหาระดับ serum creatinine (ค่าปกติ ชาย 0.67-1.27 mg/dl. และหญิง 0.51-0.95 mg/dl.)
3.การประเมินค่า eGFR (ค่าปกติ 100-150 ml/min/1.73 m^2)
4.การตรวจปัสสาวะ
5.การตรวจอื่นๆ
การตรวจดูกายวิภาคและการทำหน้าที่ของไตด้วยวิธีต่างๆ เช่น การทำ plain KUB , renal CT scan , renal MRI , ultrasonography หรือการทำ renal biopsy เพื่อตรวจพยาธิวิทยาของชิ้นเนื้อไต อาจจำเป็นในผู้ป่วยบางราย นอกจากนั้นการตรวจในทางห้องปฏิบัติการอื่นๆ เพื่อประเมินความผิดปกติ เช่น การตรวจเลือดหาภาวะไม่สมดุลของ electrolyte กรด-ด่าง การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ ก็มีความจำเป็นด้วยเช่นกัน สามารถบ่งชี้ถึงสภาวะร่างกาย ระยะและความรุนแรงของโรค นำไปใช้และเป็นข้อมูลสำคัญในการให้การรักษาพยาบาลต่อไป
แนวทางการรักษา
1.การรักษาสาเหตุที่ทำให้ไตทำหน้าที่ผิดปกติ ค้นหาสาเหตุและแก้ไขสาเหตุนั้นเท่าที่ทำได้ เช่น แก้ไขภาวะช็อก ให้ยารักษาภาวะติดเชื้อ หรือหยุดยาที่ทำให้ไตวาย ผ่าตัดรักษาการอุดตันของทางเดินปัสสาวะ ควบคุมระดับน้ำตาลในผู้ป่วยเบาหวาน เป็นต้น
2.การรักษาแบบประคับประคองและรักษาภาวะแทรกซ้อน ในผู้ป่วยไตเรื้อรังหรือไตเสียหายเฉียบพลัน ต้องดูแลในปริมาณสารน้ำในร่างกาย ความเป็นกรดด่าง และสมดุลเกลือแร่ให้อยู่ในภาวะที่เหมาะสม รวมทั้งดูแลอาหารและโภขนาการที่ครบถ้วน เพื่อไม่ให้เกิดภาวะเสี่ยงต่อการติดเชื้อ ซึ่งเป็นสาเหตุทำให้เสียชีวิตได้บ่อยที่สุด
3.การรักษาโดยวิธีบำบัดทดแทนการทำงานของไต ซึ่งมีด้วยกัน 3 วิธีได้แก่ การปลูกถ่ายไต (Kidney transplantation) การฟอกลือดด้วยเครื่องไตเทียม และการล้างไตผ่านทางหน้าท้อง (peitoneal dialysis) เป็นการรักษาเพื่อยืดชีวืตและเพิ่มคุณภาพชีวิตผู้ป่วยให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ใกล้เคียงคนปกติ
เปรียบเทียบผู้ป่วย
สาเหตุ
ผู้ป่วยมีโรคประจำตัวเบาหวานและความดันโลหิตสูง
รับประทานยาต้ม
ผู้ป่วยชอบรับประทานอาหารรสเค็ม ชอบทานปลาร้า
อาการและอาการแสดง
ผู้ป่วยมีแขนขาบวม
anemia
การวินิจฉัยและการแบ่งระยะ
ผู้ป่วยเป็นไตวายเรื้อรังระยะที่ 5 คือ ระยะที่ eGFR < 15 ซึ่งถือว่าเป็นระยะไตวาย (Kidney failure)
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
BUN = 26.3 mg/dL(ค่าสูงกว่าปกติ)
Creatinine = 3.65 mg/dL (ค่าสูงกว่าปกติ)
eGFR = 11.96 mL/min (ค่าต่ำกว่าปกติ)
การรักษา
ผู้ป่วยได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม (hemodyalysis)
ข้อมูลผู้ป่วย
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 70 ปี เตียง 10
การวินิจฉัยโรคครั้งแรก
Volume Overload
การวินิจฉัยโรคครั้งสุดท้าย
CKD stage 5 with Volume Overload
การผ่าตัด
Perm cath Rt.Vein (15/10/2563)
อาการสำคัญที่มาโรงพยาบาล :
อ่อนแรง ล้ม 15 ชม. ก่อนมาโรพงพยาบาล
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน
1 เดือนก่อนมาโรงพยาบาล มีอาการบวมทั่วตัวมากขึ้น เหนื่อยมากขึ้น
2 wks ก่อนมาโรงพยาบาล บวมมากขึ้น เหนื่อยง่ายเวลาออกแรง ปัสสาวะออกลดลง ไม่ได้จำกัดน้ำหรืออาหาร มีอาการวูบหมดสติ
15 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยมีอการอ่อนแรง ล้มก้นกระแทกพื้น ผู้ป่วยเรียกเพื่อนบ้านเข้ามาช่วย เพื่อนบ้านโทรเรียกรถพยาบาลให้ พบแพทย์ที่โรงพยาบาลลาดกระบัง แพทย์ตรวจแล้วแจ้งอุปกรณ์ไม่พร้อม ส่งตามสิทธิ์รักาาต่อโรงพยาบาลตำรวจ ญาติจึงพาผู้ป่วยมาพบแพทย์โรงพยาบาลตำรวจ ที่ ER
9 ชั่วโมง ที่ ER ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี เหนื่อยเล็กน้อย เจ็บหน้าอก ใจสั่น
โรคประจำตัว
Hypertension ประมาณ10 ปี
Diabetes Mellitus ประมาณ 25 ปี
Dyslipidemia ประมาณ 20 ปี
General Appearance
25/10/2563 ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 70 ปี รู้สึกตัวดี on cannula 3 LPM มีหายใจหอบเหนื่อย มีเสมหะ มีลิ้นจุกปาก อัตราการหายใจ 20 ครั้ง/นาที O2 satulation = 96% ผู้ป่วยได้รับประทานเป็นอาหารธรรมดา เบาหวาน Low PO4 Low K Low Salt จำกัดน้ำ 800 ml/day ช่วยเหลือตนเองได้น้อย ที่คอด้านขวามี prem cath vein แขนข้างขวาและข้างซ้ายมี serum ไหลซึมออกมาจากผิวหนังและมีแผลถลอก มือขวา on injection plug ไม่มี Phlebitis ปวด บวม แดง มือและแขนซ้ายบวมลดลง ขาบวมลดลง กดบุ๋ม +2 ผู้ป่วย on telemetry
การผ่าตัดในอดีต
Thyroid Lt. ปี 2527
EGD with Biopsy เมื่อวันที่ 14/10/2563
D Method
การวางแผนการจาหน่าย
Diagnosis
1.ให้ความรู้ผู้ดูแลเรื่องโรคไตและแนวทางเรื่องโภชนาการสำหรับผู้ป่วยโรคไต เนื่องจากผู้ป่วยมีสภาวะน้ำเกินและน้ำหนักตัวที่เยอะทำให้ต้องได้รับการช่วยเหลือจากผู้ดูแลและมีการปฏิบัติตามแนวทางที่ถูกต้อง
2.ให้ความรู้ผู้ดูแลเรื่องการทำแผล serum ที่ซึมออกมาจากผิวหนังของผู้ป่วย โดยใช้หลัก Aseptic technique โดยวิธีสาธิตและสาธิตย้อนกลับและเปิดโอกาสให้ถามคำถามที่สงสัย
3.ให้คำแนะนำเรื่องการฟอกไตและเรื่องยาหลังกลับบ้าน แนวทางการดูแลผู้ป่วยหลังการฟอกไต
4.ให้คำแนะนำผู้ดูแลเรื่องการช่วยเหลือและดูแลผู้ป่วยเบื้องต้น เช่น การพลิกตะแคงตัว การจัดท่าต่างๆเป็นต้น แนะนำเรื่องระวังพลัดตกหกล้มในผู้ป่วย
Medicine
Medicine
ให้ผู้ดูแล ดูแลให้ได้รับยาตามขนาดและเวลาที่ถูกต้องโดยถ้าเป็นยาเม็ดต้องดูแลให้ผู้ป่วยรับประทานให้ครบตามกำหนดเวลาและจำนวนเม็ด ยาน้ำ ให้ผู้ดูแลผสมกับน้ำในปริมาณที่ถูกต้องก่อนให้ผู้ป่วยดื่ม
Environment
บ้าน 2 ชั้นติดกับตัวเมือง อากาศถ่ายเท
Treatment
Treatment
สอนวิธีการทำแผล Serum ที่ถูกต้องคือใช้เทคนิค aseptic technique เพื่อลดการสะสมของเชื้อโรคและป้องกันการติดเชื้อ สังเกตอาการผิดปกติต่างๆ หากพบ ซึมลง สับสน หายใจไม่ออก หายใจหอบเหนื่อย กระวนกระวาย ปลายมือปลายเท้าเขียวหรือมีไข้สูง เช็ดตัวแล้วไม่หายให้มาพบแพทย์ทันที
Health
Health
-ส่งเสริมและฟื้นฟูสภาพร่างกายโดยพลิกตะแคงตัวทุก2ชั่วโมง เพื่อป้องกันแผลกดทับ
-Exercise ข้อนิ้วมือ นิ้วเท้า และข้อมือข้อเท้า เพื่อส่งเสริมให้ไม่เกิดข้อยึดติดและให้กล้ามเน้ือได้ทำงาน
Out patient
Out patient
แนะนำให้ญาติพาผู้ป่วยมาตรวจตามนัดเพื่อติดตามอาการและความคืบหน้าของการรักษาหรือในกรณีที่เกิดภาวะฉุกเฉินให้ติดต่อสถานพยาบาลใกล้บ้าน
Diet
Diet
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับอาหารครบ 5 หมู่และถูกหลักโภชนาการ โดยอาหารควรผ่านการน่ึงและบด ไม่ควรทอด โดยควบคุมอาหารที่มีโปรตีนควรรับประทานปลาเน้ือหมูเน้ือไก่ที่ไม่ติดหนังหรือหลีกเลี่ยงเครื่องในสัตว์ หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมัน
-เลี่ยงอาหารท่ีมีฟอสฟอรัสเช่นเนยแข็ง งดอาหารที่ใช้ผงฟู
เลี่ยงอาหารท่ีมีโพแทสเซียมสูง เช่น ผักสดสีเขม้ นมไขมันต่ำ ถั่ว หรือธัญพืชต่างๆ ปลาแซลม่อน เห็ด กล้วย ส้ม