Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่4 ตัวแปรและสมมุติฐาน, อภิญญา สำมะโย 60100104105 - Coggle Diagram
บทที่4 ตัวแปรและสมมุติฐาน
ตัวแปร
ประเด็น/คุณลักษณะที่ผู้วิจัยต้องการจะศึกษา ที่ในการศึกษา งานวิจัยใด ๆ ตัวแปรจะมีค่าที่สามารถแปรเปลี่ยนค่าได้ตามสถานการณ์หรือเงื่อนไขที่กำหนดขึ้น ที่จะได้จากหลักการของเหตุผลที่ผู้วิจัยได้ศึกษาทบทวนจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ลักษณะของตัวแปร
เป็นสิ่งที่สามารถระบุองค์ประกอบ ประเภท หรือชนิดที่หลากหลายได้ ไม่ใช่สิ่งที่มี
เพียงอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น
คำนิยามที่ให้ความหมายของตัวแปร จะเป็นการให้ความหมายที่จะสามารถใช้อธิบาย
คุณลักษณะที่จะสามารถสังเกตวัดและประเมินค่าได้อย่างชัดเจนและเป็นรูปธรรม
ความสำคัญของตัวแปร
ใช้เชื่อมโยงระหว่างการกำหนดตัวแปรที่สามารถวัดและสังเกตได้กับแนวคิดและทฤษฏีที่
เกี่ยวข้องที่มีความเป็นนามธรรมสูง
ใช้เชื่อมโยงระหว่างลักษณะความสัมพันธ์ของตัวแปร กับสมมุติฐานการวิจัย
เชื่อมโยงกับสถิติในการวิเคราะห์
ประเภทของตัวแปร
ตัวแปรอิสระ/ตัวแปรต้น
ตัวแปรตามหรือตัวแปรผล
ตัวแปรแทรกซ้อน
ตัวแปรสอดแทรก
จำแนกตามจำนวนตัวแปร
กฎเกณฑ์ของการสรุปความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างตัวแปร 2 ตัว
กฎการแปรผันร่วม
กฎการเกิดก่อน
กฎของความตรงภายใน
ประเภทของความสัมพันธ์
ความสัมพันธ์แบบสมมาตร (Symmetical Relationship) เป็นความสัมพันธ์ที่เท่าเทียมกันที่ไม่สามารถระบุได้ว่าตัวแปรใดเป็นเหตุ หรือเป็นผลหรือเป็นตัวแปรต้นหรือตามเพียงแต่ทราบว่าตัวแปรทั้งสองมีความสัมพันธ์กันเท่านั้น
ความสัมพันธ์แบบอสมมาตร(Asymmetical Relationship) เป็นความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรที่เป็นแบบทางเดียวในลักษณะของตัวแปรหนึ่งเป็นเหตุและอีกตัวแปรหนึ่งจะเป็นผล กล่าวคือ ตัวแปรหนึ่งจะเป็นตัวแปรต้นที่ส่งผลให้เกิดตัวแปรตามอีกตัวหนึ่ง
ความสัมพันธ์แบบส่งผลต่อกันและกัน(Reciprocal Relationship) เป็น ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่เป็นแบบสองทาง ในลักษณะของการเป็นเหตุและผลซึ่งกันและกัน โดยที่ไม่ทราบอย่างชัดเจนว่าตัวแปรใดเป็นตัวแปรต้นหรือตัวแปรใดเป็นตัวแปรตาม
ประเภทของการกำหนดความหมายของตัวแปร
การกำหนดความหมายเชิงโครงสร้าง(Constructional Definition) หรือ การกำหนดเชิงทฤษฏี (Theorical Definition) หรือการกำหนดเชิงความคิดรวบยอด(Conceptual Definition )
การกำหนดความหมายเชิงปฏิบัติการ(Operational Definition)
วิธีการกำหนดตัวแปร
ใช้แนวคิด หลักการ ทฤษฎี หรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ใช้ข้อเท็จจริงที่ได้จากการเก็บรวบรวมข้อมูลเบื้องต้น
ประเด็นที่ควรพิจารณาในการวัดตัวแปร
ระดับการวัดของข้อมูล
มุมมองในการวัดตัวแปร
-มีตัวแปรที่ชัดเจนจำนวนหนึ่ง
-มีตัวแปรที่มีความซับซ้อน
วิธีควบคุมตัวแปรแทรกซ้อน
การจัดกระทำแบบสุ่ม(Randomization)
การนำตัวแปรควบคุมมาเป็นตัวแปรที่ศึกษา
การทำให้ตัวแปรควบคุมคงที่
การปรับค่าทางสถิต
การตัดทิ้ง
สมมุติฐาน
เป็นการคาดคะเนปรากฏการณ์/ผลลัพธ์ที่อาจจะเกิดขึ้นในการตอบปัญหา การวิจัยนั้น ๆ โดยที่สมมุติฐานอาจจะเกิดขึ้นหรือไม่เกิดขึ้นก็ได้ และเป็นการคาดคะเนที่เกิดขึ้นหลังจากที่ ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยนั้น ๆ แล้วมาเป็นอย่างดี
หลักการกำหนดสมมุติฐาน
จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ระดับมาตรวัดของตัวแปร
ความสำคัญของสมมุติฐาน
สมมุติฐานเป็นการชี้ให้เห็นปัญหาการวิจัยที่ชัดเจน
สมมุติฐานเป็นตัวบ่งชี้การออกแบบการวิจัยตั้งแต่การสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
สมมุติฐานช่วยอธิบายปรากฏการณ์
สมมุติฐานช่วยกำหนดขอบเขตของผลการวิจัย
ประหยัดเวลา แรงงาน และงบประมาณ
ลักษณะของสมมุติฐานที่ดี
การกำหนดสมมุติฐานการวิจัยจะต้องกำหนดให้มีความสอดคล้องกับปัญหาการวิจัย
การกำหนดสมมุติฐานที่สามารถทดสอบได้ทั้งในปัจจุบันและอนาคต
การกำหนดสมมุติฐานจะต้องคำนึงถึงความถูกต้องตามแนวคิด ทฤษฏีทางวิชาการ
การกำหนดสมมุติฐานการวิจัยจะต้องระบุความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่ศึกษาตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป
การกำหนดสมมุติฐานเป็นประโยคข้อความบอกเล่าที่ใช้ภาษาง่าย ๆ
การกำหนดสมมุติฐานและระดับนัยสำคัญจะต้องกำหนดก่อนการดำเนินการทดสอบสมมุติฐาน
เกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกสมมุติฐาน
ความเป็นไปได้
สามารถทดสอบได้
มีขอบเขตที่ครอบคลุมตัวแปรที่หลากหลาย
คุณสมบัติของสมมติฐานที่ไม่จริง
รูปแบบการกำหนดสมมุติฐาน
รูปแบบที่ 1 เป็นการกำหนดสมมุติฐาน เป็นข้อ/ประเด็นเดี่ยวๆ
รูปแบบที่ 2 เป็นการกำหนดสมมุติฐานเป็นประเด็นหลักแล้วมีสมมุติฐานในประเด็น
ย่อยๆ
เป็นการกำหนดสมมุติฐานโดยมีการสรุปเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การทดสอบสมมุติฐาน
การทดสอบสมมุติฐานเป็นการนำข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้มาวิเคราะห์ด้วยวิธีการทางสถิติที่เหมาะสมเพื่อใช้พิจารณาว่าสมมุติฐานที่ผู้วิจัยได้กำหนดก่อนที่จะดำเนินการวิจัยมีความถูกต้องหรือไม่ อย่างไร
อภิญญา สำมะโย 60100104105