Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พฤติกรรมสุขภาพ - Coggle Diagram
พฤติกรรมสุขภาพ
ความเครียด
ความหมายของความเครียด
ประสบการณ์ทางอารมณ์ในเชิงลบ ร่วมกันโดยทำนายจากการรู้คิด และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
กลไกการเกิดความเครียด
การประเมินขั้นทุติยภูมิ
การประเมินขั้นปฐมภูมิ
สัญญาณเตือนความเครียด
สัญญาณทางพฤติกรรม
สัญญาณทางสรีระ
สัญญาณทางอารมณ์
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเครียด
ปัจจัยทางด้านชีววิทยา
ปัจจัยด้านบุคลิกภาพ
ปัจจัยด้านการคิด
ปัจจัยสิ่งแวดล้อม
ปัจจัยด้านสังคมวัฒนธรรม
แหล่งของความเครียด
แหล่งของความเครียดจากภายใน
แหล่งของความเครียดจากภายนอก
ผลของความเครียดต่อการทำงานทางด้านจิตใจ
ความผิดปกติความเครียดรุนแรง
ปัญหาทางด้านจิตใจและความผิดปกติ
การแสดงออกทางด้านอารมณ์อย่างสูงสุด
ปัญหาจิตกายาพาธ
การกระทำเปลี่ยนไปในทางที่เสื่อมลง
การจัดการกับความเครียด
การจัดการปัญหา
แสวงหาแหล่งจัดการความเครียด
การจัดการทางอารมณ์
อย่างมีประสิทธิภาพ
พฤติกรรมอปกติ
ความหมายของพฤติกรรมอปกติ
การกระทำ/พฤติกรรมที่ไม่เป็นที่ ยอมรับของสังคมที่แสดงออก ให้เห็นถึงความทุกข์ทรมานทางจิต
เกณฑ์การจำแนกพฤติกรรมอปกติ
ความไม่สบายของบุคคล
สถิติเกิดขึ้นยาก
เบี่ยงเบนจากเกณฑ์ของสังคม
การปรับตัวที่ไม่เหมาะสม
ความทุกข์ทรมานทางอารมณ์
มีการรับรู้/แปลความจริงบิดเบือน
สูญเสียหน้าที่การทำงานทางจิต
ก่อให้เกิดอันตราย
มีการติดต่อกับโลกภายนอกได้น้อย
แนวทัศน์ในการอธิบายพฤติกรรมอปกติ
แนวทัศน์ทางด้านชีววิทยา
แนวทัศน์มนุษย์นิยม
แนวทัศน์ทางด้านการรู้คิด
แนวทัศน์ทางด้านพฤติกรรม
แนวทัศน์ทางด้านสังคมวัฒนธรรม
แนวทัศน์การแพทย์
แนวทัศน์ทางด้านจิตวิเคราะห์
แนวทัศน์ทางด้านสังคมวัฒนธรรม
วิธีการประเมินผู้ที่มีพฤติกรรมอปกติ
การสัมภาษณ์
แบบทดสอบทางด้านจิตวิทยา
การบันทึกประวัติ
การสังเกตพฤติกรรม
การวัดทางชีววิทยา
ประเภทของพฤติกรรมอปกติ
ความผิดปกติทางจิตแสดงออกทางกาย
ความผิดปกติด้านความวิตกกังวล
โรคอารมณ์แปรปรวน
ความผิดปกติทางเพศ
โรคหลายบุคลิกภาพ
บุคลิกภาพแปรปรวน
โรคจิตเภท
แนวทางการบำบัดรักษา
การบำบัดแบบมนุษยนิยม
การบำบัดแบบ Gestalt
การบำบัดแบบจิตวิเคราะห์
การบำบัดแบบพฤติกรรม
เป้าหมายที่สำคัญในการบำบัดรักษา
การบกวนพฤติกรรม
ความยุ่งยากในความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและสถานการณ์
การรบกวนการคิด
การแทรกแซงทางด้านชีวแพทย์
การรบกวนอารมณ์
จิตวิทยาสุขภาพ
ความหมายของจิตวิทยาสุขภาพ
ศาสตร์ที่มุ่งศึกษาทำความเข้าใจอิทธิพล ทางด้านจิตวิทยาต่อความเป็นอยู่ด้าน สุขภาพ การเกิดและตอบสนองต่อ ความเจ็บป่วย
แนวทัศน์ในเรื่องสุขภาพและความเจ็บป่วย
รูปแบบทางด้านชีวแพทย์
รูปแบบชีว-จิต-สังคม
ทฤษฎีพฤติกรรมสุขภาพ
รูปแบบความเชื่อสุขภาพ
ทฤษฎีเหตุผลในการปฏิบัติ
ทฤษฎีของการวางแผนพฤติกรรม
ทฤษฎีแรงจูงใจในการรักษาสุขภาพ
ปัจจัยทางจิตวิทยาที่มีอิทธิพลต่อสุขภาพร่างกาย
ผลของความเครียดโดยตรง
นิสัยที่ไม่ดีต่อสุขภาพ
ปฏิกิริยาต่อความเจ็บป่วย
ปัจจัยเสี่ยงทางด้านพฤติกรรม
การสูบบุหรี่
ดื่มแอลกอฮอล์/เสพสารเสพติด
ไม่ควบคุมโรคความดันโลหิต
ขาดการออกกำลังกาย
มีความเครียดในระดับสูง
แนวทางการส่งเสริมสุขภาพ
สารอาหารและสุขภาพ
การออกกำลังกาย
การมีเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัย
การควบคุมนํ้าหนัก
การดื่มแอลกอฮอล์
งดสูบบุหรี่
หลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงด้านต่างๆ
การดำรงชีวิตอย่างผาสุก มีความสุข
การตรวจสุขภาพประจำปี