Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Pathology of endocrine system, นางสาววราภรณ์ จะวะนะ เลขที่71 …
Pathology of endocrine system
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นของระบบต่อมไร้ท่อ
ภาวะที่ต่อมทำงานมากเกินไป(Excessive/Hyperfunction)
ภาวะที่ต่อมทำงานน้อยเกินไป (Hypofunction)
ภาวะที่ต่อมไวต่อฮอร์โมนลดลง(Hormone resistant)
Pituitary Gland
Anterior มี ACTH,TSH,FSH,LH,PRL,GH
Posterior มี ADH,Oxytocin
Hypopituitarism(Hypofunction)
ความผิดปกติแต่กำเนิด
Pituitary dysplasia
Developmental Hypothalamic Dysfunction
เกิดขึ้นภายหลัง
ภาวะเลือดออกเฉียบพลันในต่อมใต้สมอง(Apoplexy)
ต่อมใต้สมองอักเสบ(Hypophysitis)
Trauma/Post surgery/Radiotherapy
การขาดเลือดในต่อมใต้สมอง Sheehan syndrome
Tumor/infiltrative disease
Diabetes insipidus (DI)
4 syndromes of DI
Primary polydipsia
Central DI
Nephrogenic DI
DI of pregnancy
การรักษา
รักษาโดยให้ ADH
ร่างกายสร้างเอง = Synthetic analogue of vasopressin
Hyperpituitarism (Hyperfunction)
สาเหตุส่วนใหญ่คือ
Adenoma
Cushing’s disease
มีการสร้าง ACTH มากขึ้น
Cushing syndrome ที่สัมพันธ์กับรอยโรคเรียกว่า Cushing disease
อาการ
น้ำหนักเพิ่ม,ขนดก,กล้ามเนื้ออ่อนแรง,ผมร่วง
อาการแสดง
โรคอ้วน,หน้ากลม, ความดันโลหิตสูง, รอยแตกสีม่วง/แดง
การตรวจ
ใช้ Suspension test กับ Stimulation test ถ้า ACTH สูง Adrenal gland ผิดปกติ, ACTH ต่ำ Pituitary gland ผิดปกติ
Acromegaly/Gigantism
Cell ใน Pituitary gland สร้าง GH เยอะเกินไป
ในเด็ก ขนาดตัวใหญ่ขึ้น แขน ขา ยาวไม่เป็นสัดส่วนกัน
ในผู้ใหญ่ เกิด Acromegaly เติบโตผิดปกติ ใบหน้าส่วนล่างกว้างขึ้น ฟันหน้าห่าง ฟันไม่สบกัน จมูกหนา มือ/เท้าขยายใหญ่
การตรวจ
Screening test = IGF-1 Level และ Confirmation = GH suppression test
การรักษา
ผ่าตัด,ให้ยา
Prolactinoma
เกิดจาก Lactotroph adenoma ประมาณ 30% ของ Pituitary adenoma ทั้งหมด
ผู้ป่วยหญิงที่อายุมาก/ผู้ป่วยชายจะมีอาการน้อย เนื้องอกมีขนาดใหญ่ตอนตรวจพบ
ระดับของ Prolactin เพิ่มเมื่อมีการกระตุ้นที่หัวนมระหว่างให้นม
อาการและอาการแสดง headaches, Visual acuity/Field impairment, Cranial nerve paisies
Thyroid gland
Hormone excess
Thyrotoxicosis ฮอร์โมนไทรอยด์ในกระแสเลือดมากผิดปกติ
Hyperthyroidism สร้างฮอร์โมนมากผิดปกติจากต่อมไทรอยด์
Hormone deficiency
Hypothyroidism ภาวะพร่องฮอร์โมนไทรอยด์
อาการและอาการแสดง ได้แก่ น้ำหนักลด,กินจุ,นอนไม่หลับ,ใจสั่น,มือสั่น,กล้ามเนื้อส่วนต้นอ่อนแรง
Graves’ disease (GD)
มีการสร้าง TSI จึงตรวจพบ Thyroid autoantibodies
เป็นสาเหตุของไทรอยด์เป็นพิษ อายุ 30-50 พบในหญิงมากกว่าชาย
อาการทางตา(Graves’ ophthalmopathy) หนังตาบวม ตาโปน ตาแดง เห็นภาพซ้อน
อาการทางผิวหนัง(Dermopathy) หนังนูนแข็งและคัน กดไม่บุ๋ม รูขุมขนชัดคล้ายผิวส้มเรียก localized myxedema
Toxic adenoma
เป็นก้อนเดียว, Multinodular goiter (MNG)
Thyroiditis
ตรวจด้วยการสแกน Thyroid Scan ถ้าเข้มสองข้าง = Graves’ disease , เข้มก้อนเดียว = Toxic adenoma
การรักษา Thyroidtoxicosis
ยาต้านไทรอยด์
ยากลุ่มเบต้าบล็อกเกอร์
ผ่าตัดไทรอยด์
รักษาด้วยสารกัมมันตภาพรังสีไอโอดีน (I-131)
Hashimoto thyroiditis
ค่อยๆสูญเสียการทำงานของต่อมจาก autoimmune destruction
พบในอายุ 45-65 ปี พบในหญิงมากกว่า
ต่อมไทรอยด์โต ไม่เจ็บ มีอาการ hypothyroidism ร่วมด้วย อาจมี thyrotoxicosis นำมาก่อน
นางสาววราภรณ์ จะวะนะ เลขที่71
รหัสนักศึกษา62120301071ชั้นปีที่2 รุ่น 30