Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มภร 10/2 เตียง 1-11 Pleural effusion Pneumonia - Coggle Diagram
มภร 10/2 เตียง 1-11
Pleural effusion
Pneumonia
ข้อมูลผู้ป่วย
General Appearance : ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 52 ปี รูปร่างท้วม ผิวขาว ผมสั้น ที่ศีรษะมีรอยแผลผ่าตัดยาวประมาณ 15 ซม. On NG tube , on Tracheostomy tube with O2 collar mask 3 LPM On ICD บริเวณ Lt. Lower lobe , Retain foley's catheter ปัสสาวะสีเหลืองขุ่น On injection plug ที่ขาซ้าย E4 VT M4
อาการแรกรับ ผู้ป่วยรู้สึกตัว ไม่ทำตามคำสั่ง on TT - tube with O2 collar mask 3 LPM ไม่มีเหนื่อยหอบ , on NG tube, R/F
อาการสำคัญ เหนื่อยมากขึ้น 1 วัน ก่อนมาโรงพยาบาล
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน 1 วันก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยเหนื่อยมากขึ้น วัด O2 sat 80% (RA) หายใจเร็วขึ้น เหนื่อยหอบมาขึ้น เจ้าหน้าที่ศูนย์จึงนำส่งโรงพยาบาล
การวินิจฉัยโรคแรกรับ : Lt. Pleural effusion
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต : intracerebral hemorrhage
ประวัติการผ่าตัด : Tracheostomy
Pleural effusion
การตรวจร่างกาย
ผลการตรวจร่างกายที่สำคัญพบว่าเคาะทึบ (dullness on percussion), vocal fremitus ลดลงและเสียง vesicular breath sound เบาลงในข้างงที่มีน้ำมักจะพบว่ามีปริมาณน้ำประมาณ 500 มล. ถ้าปริมาณน้ำ มากกว่า 1,000 มล. จะพบว่า การขยายตัวของปอดข้างนั้นลดลงเคาะทึบข้ึนมาถึงบริเวณ scapula อาจจะ ฟังได้ egophony บริเวณรอยต่อของน้ำ และเน้ือปอดส่วนบน ถ้าน้ำที่มีปริมาณมากกดเบียดเน้ือปอดจน แฟบ อาจตรวจได้ยินเสียง bronchial breath sound
ภาวะน้ำในช่องเยื่อหุ้มปอด คือภาวะที่มีของเหลวปริมาณมากเกินปกติในพื้นที่ระหว่างเยื่อหุ้มปอดและเยื่อหุ้มช่องอก โดยปริมาณน้ำที่มากขึ้นจะไปกดทับปอด ส่งผลให้ปอดขยายตัวได้ไม่เต็มที่ ผู้ป่วยภาวะนี้มีอาการโดยทั่วไปคือ ไอ เจ็บหน้าอก หายใจลำบาก หรือรู้สึกเจ็บขณะหายใจ
ของเหลวแบบใส (Transudate) เกิดจากแรงดันภายในหลอดเลือดที่มากขึ้นหรือโปรตีนในเลือดมีค่าต่ำ ทำให้ของเหลวรั่วไหลเข้ามาในช่องเยื่อหุ้มปอด ซึ่งมักพบในผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว
ของเหลวแบบขุ่น (Exudate) ส่วนใหญ่เกิดจากการอักเสบ มะเร็ง หลอดเลือดหรือท่อน้ำเหลืองอุดตัน มักมีอาการที่รุนแรงและรักษาได้ยากกว่าภาวะ Pleural Effusion ชนิดของเหลวแบบใส
Pneumonia
การรักษา
การรักษาตามอาการทั่วไป การให้ยาลดไข้ ให้สารน้ำทางหลอดเลือด ให้ออกซิเจน ตามอาการของผู้ป่วย
การรักษาปอดบวมที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย การให้ยาปฏิชีวนะ มักใช้ในผู้ป่วยที่อาการไม่รุนแรง และไม่มีอาการแทรกซ้อน อาจให้การรักษาแบบผู้ป่วยนอก ด้วยยาปฏิชีวนะชนิดรับประทาน เช่น ยาอะม็อกซี่ซิลลิน
การรักษาปอดบวมที่เกิดจากเชื้อไวรัส โดยส่วนใหญ่โรคปอดบวมจากเชื้อไวรัสมักหายได้เองภายใน 1-3 สัปดาห์ แต่หากอาการไม่ดีขึ้น อาจมีอาการรุนแรงหรือรุนแรงมาก เกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ควรอยู่ในความดูแลของแพทย์อย่างใกล้ชิดและได้รับการรักษาตัวในโรงพยาบาล
เป็นชนิดของปอดอักเสบที่พบได้บ่อยที่สุด โดยเชื้อโรคที่เข้าสู่ปอดและทำให้เกิดการอักเสบของถุงลมปอดและเนื้อเยื่อโดยรอบ ได้แก่ เชื้อไวรัส เชื้อแบคทีเรีย และเชื้อรา ซึ่งเชื้อที่พบจะแตกต่างกันในแต่ละกลุ่มอายุ และสภาพแวดล้อมที่เกิดโรค เช่น ได้รับเชื้อจากที่ชุมชนทั่วไป หรือจากภายในโรงพยาบาล
อาการของโรคปอดอักสบ
ไอมีเสมหะ
เจ็บหน้าอกขณะหายใจหรือไอ
หายใจเร็ว หายใจหอบ หายใจลำบาก
มีไข้ เหงื่อออก หนาวสั่น
คลื่นไส้ อาเจียน
อ่อนเพลีย สับสน
ข้อวินิจฉัย
ข้อวินิจฉัยที่ 1 เสี่ยงต่อภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจาก pleural effusion
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยมีน้ำในเยื่อหุ้มปอด
ผล CXR
ผลCT scan พบ moderate loculated Lt. pleural effusion
วัตถุประสงค์
ผู้ป่วยไม่เกิดภาวะพร่องออกซิเจน
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยรู้สึกตัว ไม่มีภาวะ chyanosis เช่น ปลายมือปลายเท้าเขียว ปากม่วง
ผู้ป่วยไม่มีอาการหายใจเหนื่อยหอบ
ผู้ป่วย ไม่มีภาวะ hypoxia เช่น ผิวหนังซีด สับสน มึนงง หายใจถี่ หัวใจเต้นเร็ว
การทำงานของสาย ICD มีการระบายอย่างมีประสิทธิภาพ ไม่อุดตัน หัก พับ งอ
สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ ได้แก่
RR 16-22 ครั้งต่อนาที
O2 sat keep 94%
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินภาวะพร่องออกซิเจน ประเมินอัตราการหายใจ ชีพจร
สีของเล็บ ปลายมือปลายเท้าเขียว ประเมินอาการซีด
จัดท่านอน ศีรษะสูง เพราะทำให้กระบังลมเคลื่อนต่ำลง
ปอดขยายตัวได้เต็มที่ เพิ่มพื้นที่แลกเปลี่ยนก๊าซให้มากขึ้น
วัดสัญญาณชีพ ทุกๆ 4 ชั่วโมง โดยเฉพาะค่า RR และ O2 sat
ติดตามผลLab chest x-rayเพราะค่า chest x -ray เป็นการประเมินความก้าวหน้าของการรักษาซึ่งอาจพบฝ่าขาวในปอดมากขึ้นหรือลดลง
ประเมินการทำงานของท่อระบายทรวงอก ICD ให้อยู่ในระบบปิด สายไม่อุดตัน หักงอ อยู่ต่ำกว่าระดับทรวงอก เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการทำงาน Record content จาก ICD สี และปริมาณ
สังเกตปริมาณและลักษณะ exudate
ทำการ milking & stripping สายเป็นประจำ
ข้อวินิจฉัยที่ 2 เสี่ยงต่อภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจาก ประสิธิภาพในการแลกเปลี่ยนก๊าซน้อยลง
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยมี secretion มาก
เสมหะของผู้ป่วยมีลักษณะ เหนียวข้น
ฟังเสียงปอดได้ยินเสียง crepitation
ผู้ป่วยไม่สามารถไอ เอาเสมหะออกเองได้
วัตถุประสงค์
ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนเพียงพอ
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วย ไม่มีภาวะ chyanosis เช่น ปลายมือปลายเท้าเขียว ปากม่วง
ผู้ป่วย ไม่มีภาวะ hypoxia เช่น ผิวหนังซีด สับสน มึนงง หายใจถี่ หัวใจเต้นเร็ว
ผู้ป่วยไม่มีอาการหายใจเหนื่อยหอบ
RR อยู่ในเกณฑ์ปกติ และค่า O2 sat keep 94%
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินภาวะพร่องออกซิเจน
ประเมินอัตราการหายใจ ชีพจรสีของเล็บ ปลายมือปลายเท้าเขียว
ประเมินอาการซีด
ประเมินการอุดตันของ เสมหะในTT - tube
ประเมินลักษณะการหายใจ
สังเกตปริมาณ secretion
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง โดยการทำ suction clear airway
ทางปากและทาง TT - tube
จัดท่านอนศีรษะสูง เพราะทำให้กระบังลม เคลื่อนต่ำลง
ปอดขยายตัวได้เต็มที่ เพิ่มพื้นที่แลกเปลี่ยนก๊าซให้มากขึ้น
4.วัดสัญญาณชีพ ทุกๆ 4 ชั่วโมง โดยเฉพาะค่า RR และ O2 sat
ทำแผล TT-tube และล้าง inner tube เป็นประจำทุกวัน เพื่อไม่ให้ secretion อุดก้นทางเดินหายใจ
6.วัด pressure cuff ทุกครั้งที่ทำแผล TT - Tube เพราะถ้าแรงดันน้อยเกินไปก็จะทำให้มีช่องว่างระหว่างcuff และหลอดลม ทำให้เพิ่มโอกาสในการลำสักอาหารหรือน้ำลายลงปอด
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการใส่สาย ICD
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วย on ICD
Pleural fluid มีสีแดงน้ำตาลเข้ม
วัตถุประสงค์
เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนจากการใส่สายระบาย ICD
ลดการติดเชื้อจากการใส่สาย ICD
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยไม่มีภาวะแทรกซ้อนจากการใส่สายระบาย ICD เช่น
เนื้อปอดบาดเจ็บ
เส้นเลือดและเส้นประสาทบริเวณซี่โครงอักเสบ
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินลักษณะ สี ปริมาณ ของ exudate ที่ซึมออกมา
สังเกตแผลว่ามี discharge ซึมหรือไม่
สังเกตการเลื่อนหลุดของสาย ICD
ดูแลการทำงานของสายICD ให้มีประสิทธิภาพ ไม่หัก พับ งอ สามารถไหลได้สะดวก
ประเมินอาการปวดแผล และดูแลให้ได้รับยาแก้ปวดตามแผนการรักษาเมื่อมีอาการ
ดูแลรักษาความสะอาด และทำหัตถการด้วย วิธี ASeptic technique เพื่อไม่ให้เกิดการติดเชื้อ
ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ เพื่อดูการติดเชื้อของร่างกาย
จัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ เหมาะสมแก่การพักผ่อน ของผู้ป่วยเพื่อส่งเสริมให้ได้รับการพักผ่อนอย่างเพียงพอ
ข้อวินิจฉัยที่ 3 มีภาวะติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ
ข้อมูลสนับสนุน
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ผล sputum พบ Acintobacter baumannii
ผล culture
specimen : pleura (fluid) พบ เชื่อ Enterococcus faecaltis
เกณฑ์การประเมิน
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ไม่พบเชื้อ
อุณภูมิร่างกายอยู่ในเกณฑ์ปกติ คือ 36.5 - 37.4 C
วัตถุประสงค์
ไม่มีการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพ ทุก 4 ชั่วโมง
ดูแลความสะอาดของร่างกายและสิ่งแวดล้อม
3.ให้การพยาบาลโดยยึดหลัก universal precautions
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ข้อวินิจฉัยที่ 4 ผู้ป่วยมีภาวะติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
ข้อมูลสนับสนุน
ผลตรวจ Gram's stain : Urine พบ moderate PMNs (polymorphonuclear cells)
WBC สูงกว่าค่าปกติ = 11.87 10^3/uL ค่าปกติ 4.24 - 10.18 10^3/uL
ปัสสาวะมีตะกอน
วัตถุประสงค์
เพื่อลดการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
เกณฑ์การประเมิน
ผล urine culture ไม่พบเชื้อ
ลักษณะปัสสาวะใส ไม่ขุ่น ไม่มีตะกอน
กิจกรรมการพยายบาล
ดูแลความสะอาดบริเวณ perineum อยุ่เสมอ โดยเฉพาะบริเวณรอบๆสายสวนปัสสาวะ
สังเกตลักษณะ สี จำนวนปัสสาวะ
Record output ทุก 8 ชั่วโมง
ดูแลถุง urine bag ให้อยู่ต่ำกว่ากระเพาะปัสสาวะ สายไม่หักพับงอ และจัดให้ urine bag อยู่สูงกว่าระดับพื้นห้องเสมอ เพื่อป้องกันการติดเชื้อเนื่องจาก น้ำปัสสาวะไหลย้อนกลับเข้าไปในสายสวนปัสสาวะ
ดูแล foley's catheterให้อยู่ในระบบปิด โดยการไม่ไปปลดข้อต่อ ระหว่างสายสวนปัสสาวะกับ urine bag
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะ ตามแผนการรักษา
ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ ภายหลังได้รับการดูแลรักษา
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน (แผลกดทับ ข้อติดแข็ง) เนื่องจาก ผู้ป่วยช่วยเหลือตนเองไม่ได้
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยช่วยเหลือและเคลื่อนไหวตัวเองไม่ได้
braden score เท่ากับ 9 คะแนน
วัตถุประสงค์
ผิวหนังไม่มีรอยแดง ไม่ถลอกหรือฉีกขาด
ผิวหนังชุ่มชื้นและมีความยืดหยุ่นดี
ข้อต่างๆของร่างกายไม่เกิดการยึดติด สามารถเคลื่อนไหวได้ตามของเขตการเคลื่อนไหวของแขนและขา (ROM)
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน (แผลกดทับ ข้อติดแข็ง)
กิจกรรมพยาบาล
1.|ประเมินสภาพผิวหนัง โดยการสังเกตว่ามีรอยแดงหรือรอยกดทับหรือไม่ โดยเฉพาะผิวหนังที่มีปุ่มกระดูกต่างๆ
พลิกตะแคงตัวผู้ป่วย ทุกๆ 2ชั่วโมง และควรทำด้วยความนุ่นนวล ไม่สมควรให้ผิวหนังเสียดสีกับที่นอน เพราะจะทำให้เกิดแผลกดทับ
นวดหลังและผิวบริเวณที่มีปุ่มกระดูก เพื่อกระตุ้นการไหลเวียนของโลหิต ถ้าผิวหนังแห้งให้ทาครีมบำรุงผิว เพื่อเพิ่มความชุ่มชื้นให้แก่ผิวหนัง
ดูแลผ้าปูที่นอนให้สะอาด แห้ง และเรียบดึงอยู่เสมอ อาจเสริมที่นอนลมเพื่อช่วยกระจายแรงกดทับเพื่อไม่ให้เกิดแผลกดทับ บริเวณใด บริเวณหนึ่งมากเกินไป
ดูแลการขับถ่าย ไม่ให้ผู้ป่วยนอนแช่อุจจาระเป็นเวลานาน
บริหารข้อต่างๆ ตามหลัก ROM
ยาและสารน้ำที่ผู้ป่วยได้รับ
Ceftazidime 1 gm. INJ (cef-dime)
ชื่อสามัญ Ceftazidime
ชื่อการค้า Cef-4 ,Fortum
2 g. IV q 8 Hts. + NSS 100 ml. Vien drip in 30-60 min.
เป็นยาต้านจุลชีพกลุ่ม cephalosporins
คุณสมบัติ รักษากาาติดเชื้อแบคทีเรีย เช่น การติดเชื้อทางเด นปัสสาวะ ทางเดินหายใจส่วนต้น (pneumonia,bactermia,septicemia)
ผลข้างเคียง แพ้ยาอาจถึงขั้น anaphylactic shock เกิดการติดเชื้อแทรกซ้อน ปวดบริเวณที่ฉีด คลื่นไส้ อาเจียน ไข้
Omeprazole sodium 40 mg.INJ
ชื่อสามัญ Omeprazole
ชื่อการค้า Desec, Dosate, Duogas, Gaster
40 mg IV OD + NSS 100 ml. Vein drip in 30-60 min
ยาลดกรด ชนิด proton pump inhibitor
คุณสมบัติ ลดกรดในกระเพาะอาหาร รักษาแผลในลำไส้เล็กส่วนต้น แผลในกระเพาะอาหาร หลอดอาหารอักเสบ
ผลข้างเคียง อาจคลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง เวียนศีรษะ ลมพิษ ไอ
Fermasian fumarate 200 mg. Tab
รับประทานครั้งละ 3 เม็ดวันละ 1 ครั้งก่อนนอน
ชื่อการค้า ferrous sulfate
สำหรับผู้ป่วย โรคโลหิตจาง เนื่องจากขาดธาตุเหล็ก สูญเสียเลือด
ผลข้างเคียง คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ท้องผูก
Hepalac syrup 100 ml. (Lactulose 66.7% SYR. 100 ml.)
รับประทานคั้งละ 2 ช้อนโต๊ะ (30cc.) วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน
ชื่อสามัญ lactulose
ชื่อการค้า Hepalac
ยาระบายในกลุ่มที่เพิ่มการดูดซึมผ่านของของเหลว เป็นน้ำตาล disaccharide กึ่งสังเคราะห์ ไม่ถูกย่อยที่ทางเดินอาหารส่วนต้น
ผลข้างเคียง ท้องอืด แน่นท้อง คลื่นไส้ อาเจียน , K ในเลือดต่ำ น้ำตาลในเลือดสูง
Amlodipine 5 mg. Tab
ชื่อสามัญ Amlodipine besylate
ชื่อการค้า Amlodipine , Norvasc
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง หลังอาหารเช้า
ยาลดความดันโลหิต และเป็น calcium antagonists
คุณสมบัติ ควบคุมความดันโลหิตสูง บรรเทาอาการเจ็บหน้าอกจากเลือดไปเลี้ยงหัวใจไม่เพียงพอ
ผลข้างเคียง ซึมเศร้า เวียนศีรษะ อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย ใจสั่น ตามัว หัวใจเต้นช้า ไม่สม่ำเสมอ หายใจมีดสียงหวีด เจ็บหน้าอก
SENOLAX TAB (sennosides tab)
รับประทานครั้งละ 2 เม็ด วันละ 1 ครั้งก่อนนอน
ชื่อการค้า senokot
รักษาผู้ป่วยที่มีภาวะท้องผูก
ผลข้างเคียง ปวดท้อง ท้องอืด คลื่นไส้ ท้องเสีย สูญเสียน้ำและเกลือแร่
MYSOVEN 200 MG. GRANULE
1 ซองละลายน้ำ 1 แก้ว ดื่มวันละ 3 ครั้ง หลังอาหา เช้า กลางวัน เย็น
ชื่อสามัญ Acetylcysteine
ชื่อการค้า Mucil, Acetin, Flucil
ยาลดความหนืดข้นของเสมหะและเป็นยาแก้สารพิษ
คุณสมบัติ รักษา Pneumonia
ผลข้างเคียง ซึม ง่วงนอน น้ำมูกใสๆไหล
FOLIC ACID 5 MG. TAB.
รับประทาน ครั้งละ วันละ 1 ครั้ง หลังอาหารเช้า
ชื่อการค้า Foliamin
กรดโฟลิกถูกเปลี่ยนที่ตับเป็น Folinic acid ซึ่งเป็น active form มีส่วนเกี่ยวข้องกับการ สังเคราะห์ DNA , RNA และกรดอะมิโนบางตัว และเกี่ยวข้องกับการสร้างเม็ดเลือด
อาการการขาด ปากเปื่อย ลิ้นอักเสบ ท้องเดิน
DILANTIN INFATAB 50 MG. TAB
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 2 ครั้ง หลังอาหารเช้า เย็น
ชื่อสามัญ Phenytoin
รักษาลมชักได้ทุกชนิด ยกเว้น petit mal
ผลข้างเคียง ตากระตุก เดินเซ ตาพร่ามัว นอนไม่หลับ หงุดหงิด ปวดศีรษะ ประสาทหลอน เบื่ออาหาร
B CO-ED TAB.
VITAMIN B COMPLEX TAB.
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง หลังอาหารเช้า
คุณสมบัติ ป้องกันการขาด และรักษาระดับวิตามินบีในร่างกาย
ผลข้างเคียง ท้องเสีย เกิดผื่นแดง บวม
CALCIFEROL CAP.
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด ต่อสัปดาห์ ทุกวันอาทิตย์
ป้องกันและรักษา โรคขาดวิตามินดี (Rickets และ Osteomalacia)
กล้ามเนื้อเกร็ง
ผลข้างเคียง กล้ามเนื้ออ่อนแรง ปวดข้อ ปวดศีรษะ
BACLOFEN 10 MG. TAB
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร เช้า กลางวัน เย็น
เป็นยาคลายกล้ามเนื้อบรรเทาอาการกล้ามเนื้อหดเกร็ง
ผลข้างเคียง มีผื่นคันตามผิวหนัง หายใจลำบาก ชัก ประสาทหลอน
การใส่สายระบายทรวงอก (ICD)
การใส่สายระบายทรวงอก คือการใส่สายเข้าไปยังช่องเยื่อหุ้มปอด (pleural cavity) เพื่อระบาย ลม น้ำ หนองหรือเลือด รักษาพยาธิสภาพของเยื่อหุ้มปอด
สายระบายทรวงอก ICD มี 4 ชนิด
สายยางเหลือง
สายพีวีซีไม่มีแกน
สายพีวีซีมีแกน
สายชนิด seldinger เช่น สาย pigtail
ระบบสองขวด สำหรับระบายอากาศและสารน้ำ แต่ไม่มีแรงดูดจากภายนอก
Problem list
1.พร่องออกซิเจน เนื่องจาก - ผู้ป่วย on tracheostomy tube
pleural effusion
เสี่ยงต่อการเกิดพาวะปรกซ้อนจากการใส่สายระบาย ICD
3.ติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ
4.ติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
เสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับและข้อติด
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC
18 ตุลาคม 2653
Hemoglobin (Hb) = 10.4 g/dL ค่าปกติ 12.3 - 15.5 g/dL ตำ่กว่าปกติ
Hematocrit (Hct) = 31.2 % ค่าปกติ 36.8 - 46.6 % ต่ำกว่าปกติ
RBC = 3.78 10^6/uL ค่าปกติ 3.96 - 5.29 10^6/uL
20 ตุลาคม 2653
Hemoglobin (Hb) = 10.0 g/dL ค่าปกติ 12.3 - 15.5 g/dL ต่ำกว่าปกติ
Hematocrit (Hct) = 31.7% ค่าปกติ 36.8 - 46.6 % ต่ำกว่าปกติ
RBC = 3.21 10^6/uL ค่าปกติ 3.96 - 5.29 10^6/uL ต่ำกว่าปกติ
MCV = 98.7 fL. ค่าปกติ 79.9 - 97.6 fL. สูงกว่าปกติ
WBC = 11.87 10^3/uL ค่าปกติ 4.24 - 10.18 10^3/uL สูงกว่าปกติ
Culture and sensitivity/ MIC
9 ตุลาคม 2563
Specimen : pleura (fluid)
Enterococcus faecalis
9 ตุลาคม 2563
Specimen : organism for MIC
Organism : Acinetobacter baumannii
Gram's stain
10 ตุลาคม 2563
Specimen : sputum
numerous : PMNs (polymorphonuclear cells)
10 ตุลาคม 2563
Specimen : urine
moderate : PMNs (polymorphonuclear cells)
VATSเป็นคําย่อของVideo-AssistedThoracicSurgeryหมายถึงการผ่าตัดทางศัลยศาสตร์ทรวงอก โดยใช้กล้องวิดีทัศน์(thoracoscope)ช่วยผ่าตัดซึ่งเป็นหนึ่งในวิธีของการผ่าตัดในช่องอกในปัจจุบัน ในอดีต การผ่าตัดช่องอกจะทําโดยการเปิดช่องซี่โครงเป็นแผลใหญ่ (open thoracotomy) เข้าไปทําการผ่าตัดหลัง
ผ่าตัดผู้ป่วยจะปวดแผลมากและฟื้นตัวช้าเทคนิคของการผ่าตัดแบบVATSเป็นการผ่าตัดที่ทําในห้องผ่าตัดวิสัญญีแพทย์จะใส่ double lumen endotracheal tube เพื่อหยุดการททำงานของปอดข้างที่จะผ่าตัดรักษาทำให้ปอดแฟบและมีที่ว่างในpleuralcavityให้ทําผ่าตัดได้จากนนั้ จะจัดท่า ให้ผู้ป่วยนอนตะแคงเอาด้านที่ผ่าตัดขึ้นบนศลัยแพทย์จะเปิดแผลขนาดเล็ก (1–3ซม.)ที่ช่องซี่โครงตั้งแต่1–4แผลจํานวนแผลและตําแหนง่ของ แผลจะขึ้นกับชนิดและความยากง่ายของหัตถการที่ทำโดยแผลแรกสำหรับใส่กล้องวีดีทัศน์ (camera port) ส่งภาพไปที่จอ monitor และแผลต่อไปสำหรับใส่เครื่องมือเข้าไปผ่าตัด (working ports) ในกรณีท่ีชิ้นเนื้อที่ตัด (specimen)มีขนาดใหญ่ ศัลยยแพทย์จะเปิดแผลที่ใหญ่ขึ้น 1แผลที่เรียกว่า utilityincision/portเพื่อให้ผ่าตัดสะดวกขึ้นและเป็นช่องทางนำชิ้นเนื้อ specimen ที่มีขนาดใหญ่ออก เครื่องมือผ่าตัดที่ใช้ใน VATS สามารถทำโดยใช้เครื่องมือที่ใช้กันอยู่เดิม รวมถึงเครื่องมือสมัยใหม่ที่ออกแบบให้ใช้ผ่านแผลที่เล็ก ช่วยให้ทำให้การผ่าตัดที่ยากขึ้นได้จากการที่VATSใช้แผลขนาดเล็กและหลีกเลี่ยงการถ่างช่องซี่โครงด้วยตัวถ่าง(ribspreader)ทําให้ ลดการบาดเจ็บจากการผ่าตัดผู้ป่วยปวดแผลน้อยลงและฟื้นตัวได้เร็ว ซึ่งเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญที่ทำให้ VATS ได้รับความนิยมมากขึ้นในยุคของminimallyinvasivesurgery อย่างไรก็ตามVATSก็ยังมีข้อจํากัดในบางกรณี ทําให้การผ่าตัดแบบ open thoracotomy ยังมีที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน นอกจากนี้แล้ว ปัจจุบันยังมีการรักษาโดยการส่องงกล้องเข้าไปในช่องเยื่อหุ้มปอดที่เรียกว่า pleuroscopy หรือ medical pleuroscopy ซึ่งมักทำโดยอายุรแพทย์โรคปอดโดยใช้ยาชาเฉพาะที่ร่วมกับยานอนหลับขนาดอ่อน(light sedation) จึงมีผู้เรียก VATS ว่าเป็นsurgical pleuroscopy เช่นกัน