Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 กระบวนการทางจิต - Coggle Diagram
บทที่ 4 กระบวนการทางจิต
การรับความรู้สึกและการรับรู้
ความหมายของการรับความรู้สึก (Defining Sensation)
ประเภทเทรชโฮลด์ ประกอบด้วย 2 ชนิดดังนี้
เทรชโฮลด์ความสมบูรณ์ (absolute threshold)
เทรชโฮลด์ความแตกต่าง (difference threshold)
กระบวนการรับความรู้สึก (Sensory processes)
กระบวนการรับความรู้สึกมีจุดเริ่มต้มจากสิ่งเร้าอยู่ในรูปแบบของพลังงาน อาทิ คลื่นแสง หรือ คลื่นเสียง ที่สามารถส่งผลต่ออวัยวะรับความรู้สึก เช่น ตาหรือหู
ทฤษฎีรับความรู้สึก (Theory of sensation)
ในการอธิบายการรับความรู้สึกของบุคคลได้มีผลงานวิจัยของ Fechner เสนอแนะทฤษฎีการตรวจจับสัญญาณโดยระบุว่าการตรวจจับสิ่งเร้าที่รายล้อมตัวบุคคล
ประเภทการรับความรู้สึก (Kinds of sensation)
การได้ยิน (Hearing)
การได้กลิ่นและการรับรส (Smell and taste)
การมองเห็น (Vision)
ความรู้สึกทางผิวหนัง (Skin senses)
ความรู้สึกของร่างกาย (Body senses)
การรับรู้ (Perception)
ความหมายของการรับรู้ (Defining perception)
การรับรู้หมายถึง กระบวนการเลือก การจัดระบบข้อมูลและการแปลข้อมูลประสาทสัมผัสเข้าไปในการแสดงข้อมูลทางจิต
องค์ประกอบของการรับรู้ (Component of perception)
การเลือกใส่ใจ
ความเคยชิน
คุณสมบัติของสิ่งเร้า
ประสิทธิภาพของการรับสัมผัส
สภาวะของบุคคลในขณะนั้น
การแปลความหมายของการรับรู้ (Interpretation of perception)
การกำหนดการรับรู้(perceptual set)
แรงจูงใจของบุคคล (individual motivation)
การปรับตัวต่อการรับรู้(perception adaptation)
กรอบการอ้างอิงของบุคคล (frame of reference)
บริบทแวดล้อม (context)
รูปแบบการรับรู้ (From perception)
การประสานกันสนิท(closure)
ความต่อเนื่อง (continuity)
ความใกล้ชิด (proximity)
ความคล้ายกัน (similarity)
ภาพและพื้น (figure-ground perception)
ความคงที่ในการรับรู้ (Perceptual constancy)
ความคงที่ของสี (color constancy)
ความคงที่ของแสง (brightness constancy)
ความคงที่ของขนาด (size constancy)
ความคงที่ของรูปร่าง (shape constancy)
การรับรู้การเคลื่อนไหว (Motion perception
การรับรู้การเคลื่อนไหวมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในการดำรงชีวิต บุคคลสามารถรับรู้การเคลื่อนไหวขึ้นอยู่กับการตรวจจับสิ่งเร้าที่เคลื่อนไหวได้รวดเร็ว สมองมนุษย์จะทำหน้าที่การวิเคราะห์การเคลื่อนไหว
ภาพลวงตา (Visual illusions)
หมายถึง การรับรู้ที่บิดเบือนไปจากความเป็นจริง
สภาวะจิตรู้สำนึก (States of conscicusness)
ความหมายของจิตรู้สำนึก
หมายถึง การตระหนักรู้ถึงประสาทสัมผัส ความคิดและความรู้สึก ที่เป็นประสบการณ์ที่เกิดขึ้นในขณะนั้น
การเปลี่ยนแปลงสภาวะจิตรู้สำนึก
หมายถึง นอกเหนือจากสภาวะในขณะตื่นของจิตสำนึก สภาวะทางจิตจะเปลี่ยนแปลงในขณะหลับ
ธรรมชาติของจิตรู้สำนึก
1) จิตสำนึกทำให้บุคคลสามารถควบคุมตนเองและสิ่งแวดล้อม
2) ควบคุมการคิดและพฤติกรรมของบุคคลในการสะท้อนการปรับตัวของบุคคล
ระดับการทำงานของจิตรู้สำนึก
1) กระบวนการควบคุม
2) กระบวนการอัตโนมัติ
การฝันกลางวัน
หมายถึง จิตนาการที่บุคคลสร้างขึ้นในขณะที่ตื่น หากแต่การฝันกลางวันยังอยู่ภายใต้การคงบคุมของบุคคล
นาฬิกาชีวิต
หมายถึง จิตนาการที่บุคคลสร้างขึ้นในขณะที่ตื่น หากแต่การฝันกลางวันยังอยู่ภายใต้การคงบคุมของบุคคล
การนอนหลับ
ขั้นตื่น
ขั้นตื่นสภาวะการทำงานของคลื่นเบต้า
ขั้นง่วง
ขั้นหลับ
ช่วงการนอนหลับจะยาวกว่าขั้นที่ 1
คลื่นสมองจะมีการทำงานช้าลง
การทำงานของคลื่นเทต้า
ขั้นหลับลึก
ความฝัน
ทฤษฎีความฝันเพื่อการรอดชีวิต
ทฤษฎีการสังเคราะห์
ทฤษฎีการตอบสนองความปรารถนาในจิตไร้สำนึก
ปัญหาการนอนหลับ
โรคหลับแบบควบคุมไม่ได้
การนอนกรน
อาการนอนไม่หลับ
ความผิดปกติในการหลับลึก
การสะกดจิต
เรียกร้องสิทธิทางกฎหมาย
บำบัดความผิดปกติทางจิต
สร้างเสริมสุขภาพที่ดี
ลดการสูบบุหรี่
ช่วยลดความเจ็บปวด
การฝึกสมาธิ
เป็นรูปแบบของการเปลี่ยนแปลงจิตรู้สำนึก
การใช้สารเสพติด
ประเภทของสาเสพติด
ประเภทกระตุ้นประสาท
คาเฟอีน
นิโคติน
โคเคน
แอมเฟตามีน
ประเภทการซึมเศร้า
แอลกอฮอร์
บาร์บิทูเลต
ประเภทสารเสพติด
มอร์ฟีน
เฮโรอีน
ประเภทประสาทหลอน
กัญชา
MDMA
การเรียนรู้ (Learning)
ความหมายของการเรียนรู้
กระบวนการที่เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมถาวร
แนวทัศน์ทางด้านการเรียนรู้
แนวทัศน์ทางด้านพฤษติกรรมนิยม
1.ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
1.ขั้นตอนการทดลอง
2.ลำดับการวางเงื่อนไข
3.กฎเกณฑ์พื้นฐานของการวางเงื่อนไข
4.หลักความสัมพันธ์ระหว่าง CS-UCS
5.ขั้นตอนการทดลอง
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบลงมือกระทำ
1.ประเภทการเสริมแรง
2.รูปแบบการเสริมแรง
3.ตารางการเสริมแรง
4.รูปแบบการลงโทษ
5.ผลกระทบที่เกิดจากการลงโทษ
6.การตัดพฤติกรรม
7.การปรับพฤติกรรม
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบลองผิดลองถูก
แนวทัศน์ทางด้านการเรียนรู้การคิด
ทฤษฎีการเรียนรู้แฝง
ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการสังเกต
ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการหยั่งเห็น
ความจำ (Memory)
รูปแบบของความจำระยะยาว
ความจำประเภท มีจิตสำนึก หรือ ตระหนักรู้
ชนิด ประเภท และความคิดรวบยอด
ความจำประเภทกระบวนการ
รูปแบบ
ระดับขั้นและระดับพื้นฐาน
ความจำประเภทความรู้ความจริง
โครงสร้าง
สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการค้นคืนข้อมูล
คุณค่าของสิ่งเร้าชนิดต่าง
บริบท สภาวะ และอารมณ์ที่ส่งผลต่อความจำ
ตัวชี้แนะการค้นคืน
รูปแบบกระบวนการประมวลผลข้อมูลความจำ
การจัดเก็บข้อมูล
การค้นข้อมูล
การเข้ารหัส
การลืม
สาเหตุของการลืม
การแทรกแทรง
ความเสื่อมของร่องรอยความจำ
แรงจูงใจที่ต้องการจะลืม
ความล้มเหลวในการเข้ารหัส
ทฤษฎีการลืม
ทฤษฎีความเสื่อม
ทฤษฎีการสอดแทรก
ทฤษฎีโครงสร้าง
ทฤษฎีจูงใจที่จะลืม
ทฤษฎีการเชื่อมต่อความทรงจำ
แนวทางการลดปัญหาการลืม
การพัฒนาแรงจูงใจ
ฝึกฝนทักษะความจำ
มีความเชื่อมั่น
ลดความวุ่นวายลง
อยู่กับการจดจ่อ
สร้างความสัมพันธ์ระหว่างการเรียนรู้กับข้อมูลที่มีอยู่แล้ว
ใช้จินตนาการทางจิต
ใช้เครื่องชี้แนะช่วยค้นคืน
ใช้เครื่องช่วยจำ
ตระหนักในโครงสร้างของบุคคล
การคิดและเชาวน์ปัญญา (Thinking and intelligence)
ความหมายของการคิด
เหตุผล
การตัดสินใจ
องค์ประกอบของการคิด
การแก้ปัญหา
เชาวน์ปัญญา
ความสูงสุดทางเชาวน์ปัญญา
พันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมที่กำหนดความสามารถทางเชาวน์ปัญญา
พัฒนาการสร้างแบบทดสอบเชาวน์ปัญญา
ทฤษฎีเชาวน์ปัญญา
ความหมายของเชาวน์ปัญญา
ความคิดสร้างสรรค์
ความฉลาดทางอารมณ์หรืออีคิว
อารมณ์และแรงจูงใจ (Emotion and motivation)
อารมณ์
หน้าที่ของอารมณ์
การแสดงความรู้สึกทางสีหน้า
ธรรมชาติของอารมณ์
ชีววิทยาพื้นฐานของอารมณ์
องค์ประกอบของอารมณ์
ทฤษฎีอารมณ์
ความหมายของอารมณ์
การวัดอารมณ์
แรงจูงใจ
ความขัดแย้งของแรงจูงใจ
ประเภทของแรงจูงใจ
องค์ประกอบของแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจ
ความหมายของแรงจูงใจ