Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการทางจิต - Coggle Diagram
กระบวนการทางจิต
สภาวะจิตรู้สำนึก
ธรรมชาติของจิตรู้สำนึก
จิตสำนึกทำให้บุคคลสามารถควบคุมตนเองและสิ่งแวดล้อม
ควบคุมการคิดและพฤติกรรมของบุคคลในการสะท้อนการปรับตัวของบุคคล
ระดับการทำงานของจิตรู้สำนึก
กระบวนการควบคุม
กระบวนการอัตโนมัติ
การเปลี่ยนแปลงสภาวะจิตรู้สำนึก
การฝันกลางวัน
นาฬิกาชีวิต
การนอนหลับ
ขั้นตื่น
ขั้นตื่นสภาวะการทำงานของคลื่นเบต้า
ขั้นง่วง
ขั้นหลับ
ช่วงการนอนหลับจะยาวกว่าขั้นที่ 1
ขั้นหลับลึก
การทำงานของคลื่นเทต้า
คลื่นสมองจะมีการทำงานช้าลง
ทฤษฎีการนอนหลับ
ความฝัน
ทฤษฎีการตอบสนองความปรารถนาในจิตไร้สำนึก
ทฤษฎีความฝันเพื่อการรอดชีวิต
ทฤษฎีการสังเคราะห์
ปัญหาการนอนหลับ
โรคหลับแบบควบคุมไม่ได้
การนอนกรน
อาการนอนไม่หลับ
ความผิดปกติในการหลับลึก
การสะกดจิต
ช่วยลดความเจ็บปวด
ลดการสูบบุหรี่
บำบัดความผิดปกติทางจิต
เรียกร้องสิทธิทางกฎหมาย
เรียกร้องสิทธิทางกฎหมาย
การฝึกสมาธิ
การใช้สารเสพติด
ประเภทกระตุ้นประสาท
ประเภทการซึมเศร้า
ประเภทสารเสพติด
ประเภทประสาทหลอน
ความจำ
ระบบความจำ
รูปแบบของความจำระยะยาว
ความจำประเภทความรู้ความจริง
ความจำประสบการณ์
ความจำเรื่องราวของโลกและภาษา สัญลักษณ์
ความจำประเภทกระบวนการ
ความจำประเภท มีจิตสำนึก หรือ ตระหนักรู้
ชนิด ประเภท และความคิดรวบยอด
รูปแบบ
ระดับขั้นและระดับพื้นฐาน
โครงสร้าง
สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการค้นคืนข้อมูล
ตัวชี้แนะการค้นคืน
คุณค่าของสิ่งเร้าชนิดต่าง
บริบท สภาวะ และอารมณ์ที่ส่งผลต่อความจำ
รูปแบบกระบวนการประมวลผลข้อมูลความจำ
การเข้ารหัส
การจัดเก็บข้อมูล
การค้นข้อมูล
โครงสร้างของสมองที่เกี่ยวกับความจำ
ซีรีเบลลัม
สไทรทรัม
เปลือกสมอง
อมิกดาลา และฮิปโปแคมปัส
การลืม
สาเหตุของการลืม
ความล้มเหลวในการเข้ารหัส
ความเสื่อมของร่องรอยความจำ
การแทรกแทรง
แรงจูงใจที่ต้องการจะลืม
แนวทางการลดปัญหาการลืม
มีความเชื่อมั่น
ลดความวุ่นวายลง
ฝึกฝนทักษะความจำ
อยู่กับการจดจ่อ
การพัฒนาแรงจูงใจ
สร้างความสัมพันธ์ระหว่างการเรียนรู้กับข้อมูลที่มีอยู่แล้ว
ใช้จินตนาการทางจิต
ใช้เครื่องชี้แนะช่วยค้นคืน
ใช้เครื่องช่วยจำ
ตระหนักในโครงสร้างของบุคคล
ทฤษฎีการลืม
ทฤษฎีการสอดแทรก
ทฤษฎีความเสื่อม
ทฤษฎีโครงสร้าง
ทฤษฎีจูงใจที่จะลืม
ทฤษฎีการเชื่อมต่อความทรงจำ
การรับความรู้สึกและการรับรู้
ความหมายของการรับความรู้สึก
ประเภทเทรชโฮลด์
เทรชโฮลด์ความสมบูรณ์
เทรชโฮลด์ความแตกต่าง
กระบวนการรับความรู้สึก
ทฤษฎีรับความรู้สึก
ประเภทการรับความรู้สึก
การมองเห็น
การได้ยิน
การได้กลิ่นและการรับรส
ความรู้สึกทางผิวหนัง
การรับรู้
องค์ประกอบของการรับรู้
การเลือกใส่ใจ
ความเคยชิน
คุณสมบัติของสิ่งเร้า
ประสิทธิภาพของการรับสัมผัส
การแปลความหมายของการรับรู้
การปรับตัวต่อการรับรู้
การกำหนดการรับรู้
แรงจูงใจของบุคคล
กรอบการอ้างอิงของบุคคล
รูปแบบการรับรู้
ภาพและพื้น
ความใกล้ชิด
ความต่อเนื่อง
ความคล้ายกัน
ความคงที่ในการรับรู้
ความคงที่ของขนาด
ความคงที่ของแสง
ความคงที่ของสี
ความคงที่ของรูปร่าง
การรับรู้ความลึกและระยะทางไกล
การรับรู้การเคลื่อนไหว
ภาพลวงตา
การรับรู้ความลึกเกิดจากการเรียนรู้
การรับรู้ประสาทสัมผัสพิเศษ
โทรจิต
ประสาททิพย์
การรู้ล่วงหน้า
การใช้พลังจิต
การเรียนรู้
แนวทัศน์ทางด้านพฤษติกรรมนิยม
แนวทัศน์ทางด้านการเรียนรู้การคิด
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบลงมือกระทำ
ประเภทการเสริมแรง
รูปแบบการลงโทษ
รูปแบบการเสริมแรง
ผลกระทบที่เกิดจากการลงโทษ
การตัดพฤติกรรม
การปรับพฤติกรรม
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
แนวทัศน์ทางด้านการเรียนรู้การคิด
ลำดับการวางเงื่อนไข
กฎเกณฑ์พื้นฐานของการวางเงื่อนไข
ขั้นตอนการทดลอง
หลักความสัมพันธ์ระหว่าง CS-UCS
แนวทัศน์ทางด้านการเรียนรู้การคิด
ทฤษฎีการเรียนรู้แฝง
ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการสังเกต
ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการหยั่งเห็น
การคิดและเชาวน์ปัญญา
ความหมายของการคิด
องค์ประกอบของการคิด
ความคิดรวบยอด
ความสัมพันธ์ระหว่างความคิดรวบยอด
จิตนาการ
เหตุผล
การตัดสินใจ
การแก้ปัญหา
ค้นหากรอบปัญหา
พัฒนาการกลวิธีการแก้ไขปัญหาที่ดี
ประเมินแนวทางในการแก้ไขปัญหา
ย้อนทบทวนปัญหา
เชาวน์ปัญญา
พันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมที่กำหนดความสามารถทางเชาวน์ปัญญา
ความสูงสุดทางเชาวน์ปัญญา
พัฒนาการสร้างแบบทดสอบเชาวน์ปัญญา
ความฉลาดทางอารมณ์หรืออีคิว
ทฤษฎีเชาวน์ปัญญา
ทฤษฎีวิเคราะห์องค์ประกอบ
ทฤษฎีหลายองค์ประกอบ
ทฤษฎีเชาวน์ปัญญาสามเหลี่ยม
ทฤษฎีโครงสร้างเชาวน์ปัญญา
ความคิดสร้างสรรค์
อารมณ์และแรงจูงใจ
อารมณ์
องค์ประกอบของอารมณ์
มีการแสดงออกทางสีหน้า
เกิดปฏิกิริยาต่ออารมณ์
อารมณ์มีความเกี่ยวข้องกับการคิด
มีแนวโน้มต่อการแสดงออกของการกระทำ
อารมณ์ก่อให้เกิดการตอบสนองของร่างกาย
อารมณ์เป็นประสบการณ์ส่วนบุคคลของอารมณ์
ธรรมชาติของอารมณ์
อารมณ์เกิดขึ้นได้รับการกระตุ้นจากสิ่งเร้าภายนอก
การตอบสนองของอารมณ์เป็นผลมาจากการแปลความหมาย
การตอบสนองของสรีระต่อการประเมินที่ร่างกายถูกกระตุ้น
อารมณ์ประกอบด้วยทิศทางของพฤติกรรม
หน้าที่ของอารมณ์
แรงจูงใจและใส่ใจ
เป็นหน้าที่ทางสังคม
อารมณ์ส่งผลต่อความคิด
การแสดงความรู้สึกทางสีหน้า
ชีววิทยาพื้นฐานของอารมณ์
ระบบประสาทซิมพาเธติค
การทำงานของสมอง
ฮอร์โมน
ทฤษฎีอารมณ์
ทฤษฎีของเจมส์-แลง
ทฤษฎีของแคนนอน-บาร์ค
ทฤษฎีการคิด
ทฤษฎีอารมณ์ของพลัทคิด
ทฤษฎีการย้อนกลับทางสีหน้า
การวัดอารมณ์
แรงจูงใจ
ประเภทของแรงจูงใจ
แรงจูงใจปฐมภูมิ
แรงขับความหิว
จุดระดับน้ำหนัก
ปัจจัยทางจิตวิทยาและวัฒนธรรม
ปัจจัยทางชีววิทยา
ความผิดปกติในการรับประทานอาหาร
แรงขับความกระหาย
ระดับของเหลวในเซลล์
ระดับโลหิตทั้งหมด
ปากแห้ง
ปัจจัยทางจิตวิทยา
แรงขับทางเพศ
ความต้องการทางชีววิทยา
องค์ประกอบทางความคิด
ปัจจัยทางด้านวัฒนธรรม
แรงจูงใจจิตวิทยา
ความต้องการความผูกพัน
ความต้องการใฝ่สัมฤทธิ์
ความต้องการมีอำนาจ
องค์ประกอบของแรงจูงใจ
องค์ประกอบการเรียนรู้
องค์ประกอบการคิด
องค์ประกอบทางชีววิทยา
ความขัดแย้งของแรงจูงใจ
ความขัดแย้งระหว่างไม่ชอบ-ไม่ชอบ
ความขัดแย้งระหว่างชอบ-ไม่ชอบ
ความขัดแย้งระหว่างชอบ-ชอบ
ความขัดแย้งสลับซับซ้อนระหว่างชอบ-ไม่ชอบ
ทฤษฎีแรงจูงใจ
แนวทัศน์กระบวนการตรงกันข้ามของ Solomon
แนวทัศน์ทางด้านมนุษยนิยม
แนวทัศน์ทางด้านการเรียนรู้
ทฤษฎีการลดแรงขับของ Hull
แนวทัศน์ทางด้านการคิด
ทฤษฎีความคาดหวัง-คุณค่า
ทฤษฎีการตั้งเป้าหมาย
แนวทัศน์ทางด้านความต้องการ
แนวทัศน์ทางด้านความต้องการ
ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของ Maslow
ความต้องการเป็นส่วนหนึ่งและความต้องการความรัก
ความต้องการเกียรติยศศักดิ์ศรี
ความต้องการความปลอดภัย
ความต้องการพัฒนาศักยภาพ
ความต้องการทางสรีระ
แนวทัศน์ทางด้านทฤษฎีสัญชาตญาณ
ทฤษฎีสัญชาตญาณของ Freud
แนวทัศน์ทางด้านการเจริญเติบโตและความเชี่ยวชาญ