Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 พฤติกรรมสุขภาพ, สาเหตุของความเครียด, แหล่งของความเครียด - Coggle…
บทที่ 6
พฤติกรรมสุขภาพ
ความหมายของจิตวิทยาสุขภาพ
ศาสตร์ที่มุ่งศึกษาท าความเข้าใจอิทธิพลทางด้านจิตวิทยาต่อความเป็นอยู่ด้านสุขภาพการเกิดและตอบสนองต่อความเจ็บป่วย เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคคลมีชีวิตและความเป็นอยู่ดี
แนวทัศน์ในเรื่องสุขภาพและความเจ็บป่วย
รูปแบบทางด้านชีวแพทย์
มุ่งเน้นปัจจัยทางชีววิทยา ที่ส่งผลต่อความเจ็บป่วย
ปราศจากพิจารณาปัจจัยทางจิตวิทยาและด้านสังคม
มุ่งเน้น การอธิบายประเด็นสุขภาพบนพื้นฐานของความเจ็บป่วย (Illness)มากกว่าสุขภาพ (Health)
รูปแบบชีว-จิต-สังคม(Bio psychosocial Model)
วามเจ็บป่วยและการด ารงชีวิตอยู่ถูกก าหนดจาก ผลรวมของปัจจัย ทั้ง 3 ประการ
ชีววิทยา
จิตวิทยา
สังคม
ปัจจัยทางจิตวิทยาที่มีอิทธิพลต่อสุขภาพร่างกาย
1.ผลของความเครียดโดยตรง
เป็นพื้นฐานสำคัญที่สุด
เป็นการท างานของจิตใจมีผลต่อสุขภาพร่างกาย
มีผลโดยตรงต่อการท างานของสรีรวิทยา
มีผลต่อการกระตุ้นให้ร่างกายเกิดการเปลี่ยนแปลงอันจะน าไปสู่การท าลายสุขภาพระยะต่อไป
2.นิสัยที่ไม่ดีต่อสุขภาพ
แบบแผนนิสัยทางพฤติกรรมของบุคคล ก่อให้เกิดความเจ็บป่วยที่เพิ่มมากขึ้น
ปฏิกิริยาต่อความเจ็บป่วย
พฤติกรรมตอบสนองต่ออาการของความเจ็บป่วย
ชะลอความต้องการที่จะปรึกษาแพทย์
ละเลยต่อค าแนะน าของแพทย์
ไม่สามารถจะปฏิบัติตามค าแนะน าของแพทย์อย่างเคร่งครัด
อัตราการเจ็บป่วยที่ร้ายแรงจึงเพิ่มขึ้น
ปัจจัยเสี่ยงทางด้านพฤติกรรม
ความเครียดในระดับสูง
ไม่ควบคุมโรคความดันโลหิต
สูบบุหรี่ดื่มแอลกอฮอล์+ เสพสารเสพติด+ ทานอาหารมากไป
ขาดการออกก าลังกาย
พฤติกรรมทางเพศที่ไม่ปลอดภัย
สะสมสารพิษในร่างกาย
ขาดความตระหนักถึงความปลอดภัยในชีวิต
ความรุนแรงต่างๆ
แนวทางการส่งเสริมสุขภาพ
การมีเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัย
สารอาหารและสุขภาพ
การออกกำลังกาย
การควบคุมน้าหนัก
การดื่มแอลกอฮอล์
การดื่มแอลกอฮอล์ระดับปานกลาง(ประมาณ1แก้ว ต่อวัน)
งดสูบบุหรี่
หลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงด้านต่างๆ
การดำงชีวิตอย่างผาสุกและเต็มไปด้วยความสุข
การตรวจสุขภาพประจ าปี
ความเครียด(Stress)
สัญญาณเตือนความเครียด
สัญญาณทางอารมณ์
ไม่สนใจตนเอง ตัดสินใจไม่ดี หลีกเลี่ยงความรับผิดชอบ มีพฤติกรรมทำลายตนเอง
สัญญาณทางพฤติกรรม
ความวิตกกังวล การไม่สนใจ หงุดหงิดเหนื่อยใจ
สัญญาณทางสรีระ
ป่วยบ่อย ใช้ยาบ่อยๆ
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเครียด
ปัจจัยทางด้านชีววิทยา
เหนื่อยอ่อนและแตกแยกของสรีระ
การเจริญอาหารลดลงความอ่อนล้าของกล้ามเนื้อรวมถึงความสนใจต่อสิ่งแวดล้อมในโลกลดลง
การตอบสนองต่อความเครียด
ระบบประสาทส่วนกลางของบุคคล จะรับรู้ความเครียดจากสิ่งแวดล้อมต่างๆ
ปล่อยฮอร์โมนความเครียดออกมาที่เรียกว่า ฮอร์โมนอดีนาลีน
ระบบประสาทอัตโนมัติมีการเปลี่ยนแปลงการตอบสนองต่อความเครียดโดยเชื่อมโยงการทำงานกับปัญหาของโรคช่องท้องทำให้เกิดแผลในกระเพาะอาหาร
ซีรีบรัมคอร์เทค (Cerebral Cortex)
ฮอร์โมนคอร์ติโซนได้ถูกปลดปล่อยออกมา
ปัจจัยด้านบุคลิกภาพ
TypeA
จะมีลักษณะชอบแข่งขันในระดับสูง มีความมุ่งมั่น ใจร้อน มุ่งร้าย
มีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคหัวใจ
TypeB
จะมีบุคลิกภาพแบบผ่อนคลายไร้กังวล
ปัจจัยด้านการคิด
ปัจจัยสิ่งแวดล้อม
ปัจจัยทางด้านสังคมวัฒนธรรม
การจัดการกับความเครียด
การจัดการโดยตรง
การเผชิญหน้า (Confrontation)
การประนีประนอม (Compromise)
การถอนตัว (Withdraw)
ระดับจิตสำนึก
การจัดการโดยใช้กลไกป้องกันตนเอง
จิตไร้สำนึก
การจัดการทางอารมณ์
ป้องกันทางจิต (Defense Mechanism)ซึ่งเป็นกลวิธีการใช้จิตส านึกที่จะปกป้องอีโก้ (Ego)และหลีกเลี่ยงความวิตกกังวลโดยการบิดเบือนความเป็นจริง
การจัดการปัญหา (Problem –Focused Forms of Coping)จะเกี่ยวข้องโดยตรงกับสถานการณ์หรือสิ่งแวดล้อมเพื่อที่จะลดความเครียดหรือขจัดให้น้อยลง
การแสวงหาแหล่งจัดการความเครียดอย่างมีประสิทธิภาพ
สุขภาพและพลังงานบุคคลที่มีสุขภาพแข็งแรงจะมีความสามารถในการจัดการและมีระยะเวลาในขั้นต่อต้านได้ดีกว่าโดยปราศจากการเข้าสู่ขั้นหมดแรง
ความเชื่อทางบวกการมองตนเองทางบวก (Self –Esteem)จะช่วยลดปริมาณความวิตกกังวลซึ่งมีสาเหตุมาจากเหตุการณ์ความเครียด ความหวังจะท าให้บุคคลสามารถเผชิญกับเรื่องร้ายแรงในชีวิตหรือความเครียด
ทักษะทางสังคมช่วยให้บุคคลมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นสื่อถึง ความต้องการและความปรารถนาให้การสนับสนุนในสิ่งที่บุคคลต้องการลดความมุ่งร้ายในสถานการณ์ที่ตึงเครียด
แหล่งสนับสนุนวัสดุต่างๆเงินและสิ่งต่างๆ
การควบคุมของบุคคลเป็นความเชื่อเกี่ยวกับสภาพการณ์ชีวิตของบุคคล
กลวิธีการจัดการโดยการกระท าต่อต้านความเครียด
การเบี่ยงเบนความสนใจเป็นการช่วยให้บุคคลสามารถลดการตอบสนองต่อความทุกข์ทรมานจากความเครียด
สาเหตุของความเครียด
ความขัดแย้งใจ(Conflict)
Approach –Approach Conflict
ความขัดแย้งใจที่เกิดขึ้นเมื่อบุคคลมีเป้าหมายที่ต้องการ 2 อย่างแต่ต้องตัดสินใจเลือกเพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง
Avoidance –avoidance Conflicts
เป็นความขัดแย้งใจที่ตัดสินใจได้ยากต้องใช้เวลาตัดสินใจนานถ้าไม่ถูกบังคับจะไม่เลือกทั้งสองอย่าง
Approach –Avoidance Conflict
ความขัดแย้งใจที่เกิดขึ้นเมื่อบุคคลมีเป้าหมายเพียงเป้าหมายเดียวซึ่งเป้าหมายมีลักษณะที่ต้องการและไม่ต้องการแต่ต้องตัดสินใจเลือก
Multiple Approach –Avoidance Conflict
ความขัดแย้งใจที่เกิดขึ้นเมื่อบุคคลมีเป้าหมาย 2อย่างหรือมากกว่า
ความคับข้องใจ (Frustration)
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
สิ่งแวดล้อมทางสังคม
สาเหตุจากองค์ประกอบส่วนบุคคล
ความกดดัน (Pressure)
สภาวะอารมณ์ทางลบ
ความกดดันที่เป็นสาเหตุส่วนใหญ่ของความเครียด
ความกดดันจากการท างาน
ความกดดันที่เกิดขึ้นจะทาให้ประสิทธิภาพในการทางานลดลง
ความกดดันเกิดจากการไม่มีเวลาที่เพียงพอ(Lack of Time)
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิต(Life Event)
เกิดการเปลี่ยนแปลงในชีวิตและต้องปรับตัว
เหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดความหายนะ และความทุกข์ทรมานร่างกายและจิตใจ
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ (Physical Environment)
การทำงานในสภาพแวดล้อมที่ไม่มีความปลอดภัย
ท างานในสภาพแวดล้อมที่มีสารเคมีเป็นพิษ
สิ่งแวดล้อมทางสังคม(Social Environment)
แหล่งของความเครียด
แหล่งของความเครียดจากภายใน
ความเชื่อที่ไร้เหตุผล
การควบคุมการรับรู้
รูปแบบเหตุผล
ลักษณะของบุคลิกภาพ
ความคับข้องใจ
ความขัดแย้ง
การก าหนดความเครียดด้วยตนเอง
แหล่งของความเครียดจากภายนอก
เหตุการณ์หรือสิ่งแวดล้อม
การเปลี่ยนแปลงในชีวิต
การรบกวนจากชีวิตประจำวัน
มหันตภัย