Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการใช้งานอินเทอร์เน็ต, นาย มะสุกรี บีรู…
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายทางคอมพิวเตอร์
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
กฎหมายเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Transactions Law)
เพื่อรับรองสถานะทางกฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ให้เสมอข้อมูลที่ท าในกระดาษ อันเป็นการรองรับิติสัมพันธ์ต่าง ๆ ซึ่งแต่เดิมอาจจะจัดท าขึ้นในรูปแบบของหนังสือให้เท่าเทียมกับนิติสัมพันธ์รูปแบบใหม่ที่จัดท าขึ้นให้อยู่ในรูปแบบของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ รวมตลอดทั้งการลงลายมือชื่อในข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ และการรับฟังพยานหลักฐานที่อยู่ในรูปแบบของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
กฎหมายเกี่ยวกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Signatures Law)
เพื่อรับรองการใช้ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ด้วยกระบวนการใด ๆ ทางเทคโนโลยีให้เสมอด้วยการลงลายมือื่อธรรมดา อันส่งผลต่อความเชื่อมั่นมากขึ้นในการท าธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ และก าหนดให้มีการก ากับดูแลการให้บริการ เกี่ยวกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ตลอดจนการให้ บริการอื่น ที่เกี่ยวข้องกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์
กฎหมายเกี่ยวกับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศให้ทั่วถึง และเท่าเทียมกัน
(National Information Infrastructure Law)
เพื่อก่อให้เกิดการส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ อันได้แก่โครงข่ายโทรคมนาคม เทคโนโลยีสารสนเทศ สารสนเทศทรัพยากรมนุษย์ และโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศส าคัญอื่น ๆ อันเป็นปัจจัยพื้นฐาน ส าคัญในการพัฒนาสังคม และชุมชนโดยอาศัยกลไกของรัฐ ซึ่งรองรับเจตนารมณ์ส าคัญประการหนึ่งของแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐตาม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 78 (3) ในการกระจายสารสนเทศให้ทั่วถึง และเท่าเทียมกัน และนับเป็นกลไกส าคัญในการช่วยลดความเหลื่อมล้ าของสังคมอย่างค่อยเป็นค่อยไป เพื่อสนับสนุนให้ท้องถิ่นมีศักยภาพในการปกครองตนเองพัฒนาเศรษฐกิจภายในชุมชน และ
น าไปสู่สังคมแห่งปัญญา และการเรียนรู
กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Data Protection Law)
เพื่อก่อให้เกิดการรับรองสิทธิ และให้ความคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลซึ่งอาจถูกประมวลผลเปิดเผยหรือ
เผยแพร่ถึงบุคคลจ านวนมากได้ในระยะเวลาอันรวดเร็วโดยอาศัยพัฒนาการทางเทคโนโลยี จนอาจก่อให้เกิดการน าข้อมูลนั้นไปใช้ในทางมิชอบอันเป็นการละเมิดต่อเจ้าของข้อมูล ทั้งนี้โดยค านึงถึงการรักษาดุลยภาพระหว่างสิทธิขั้น
พื้นฐานในความเป็นส่วนตัว เสรีภาพในการติดต่อสื่อสาร และความมั่นคงของรัฐ
กฎหมายเกี่ยวกับการกระท าความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (Computer Crime Law)
เพื่อก าหนดมาตรการทางอาญา ในการลงโทษผู้กระท าผิดต่อระบบการท างานของคอมพิวเตอร์ระบบ
ข้อมูล และระบบเครือข่าย ทั้งนี้เพื่อเป็นหลักประกันสิทธิเสรีภาพ และการคุ้มครองการอยู่ร่วมกันของสังคม
กฎหมายเกี่ยวกับการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Funds Transfer Law)
เพื่อก าหนดกลไกส าคัญทางกฎหมายในการรองรับระบบการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งที่เป็นการโอน
เงินระหว่างสถาบันการเงิน และ ระบบการช าระเงินรูปแบบใหม่ในรูปของเงินอิเล็กทรอนิกส์ก่อให้เกิดความเชื่อมั่น
ต่อระบบการท าธุรกรรมทางการเงิน และการท าธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์มากยิ่งขึ้น
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดทางคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
ความเป็นมาของพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท าความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พ.ศ.
2550
สภาพปัญหาเกี่ยวกับการกระท าความผิดทางคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน
ความส าคัญของคอมพิวเตอร์ในชีวิตประจ าวัน
ผลของการกระท าผิดกระทบหรือความเสียหายในวงกว้างและรวดเร็ว
ยังไม่มีกฎหมายก าหนดความผิดมาก่อน
เจตนารมณ์ในการร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท าความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พ.ศ. 2550
เนื่องจากปัญหาภัยคุกคามที่เกิดจาก ไวรัสคอมพิวเตอร์ แฮกเกอร์ การเผยแพร่ รูปภาพ ข้อความ ที่มี
ลักษณะลามก อนาจาร หรือข้อมูลอันเป็นเท็จที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อบุคคล ต่อความมั่นคงทางการเมือง
สังคม และเศรษฐกิจของประเทศ จึงเป็นเหตุให้เกิดการร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท าความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ขึ้นโดยมีเจตนารมณ์ดังนี้
เพื่อเป็นการใช้กรอบแห่งกฎหมายในการก าหนดฐานความผิดและบทลงโทษในการเรียกร้องค่าเสียหายแก่
ผู้กระท าความผิดเพื่อคุ้มครองสิทธิให้แก่ประชาชน
เพื่อก าหนดบทบัญญัติเกี่ยวกับอ านาจหน้าที่ของเจ้าพนักงาน เจ้าหน้าที่ทั้งด้านนโยบาย มาตรฐาน แนว
ปฏิบัติ และก าหนดหน้าที่ของผู้ให้บริการไม่ว่าจะแก่ตนเองหรือบุคคลอื่นในการเข้าสู่อินเทอร์เน็ต หรือใหสามารถติดต่อถึงกันโดยผ่านระบบคอมพิวเตอร์ก็ตาม โดยให้มีแนวทางการปฏิบัติการด าเนินงานให้เกิด
ความชัดเจนถูกต้องในแนวทางเดียวกัน
สาระส าคัญ
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท าผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 มีทั้งหมด 30 มาตรา ซึ่งในบทเรียน
นี้จะกล่าวถึงหมวดที่ 1 ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ เท่านั้น
ตัวอย่างลักษณะความผิดที่พบได้บ่อยในปัจจุบันส าหรับการใช้งานอินเทอร์เน็ต
การส่งเมล์ก่อกวนหรือโฆษณาขายสินค้าหรือขายบริการ ประเภทป๊อปอัพ หรือพวกส่งอีเมล์ขยะที่เขา
ไม่ต้องการมีโทษปรับอย่างเดียวไม่เกิน 100,000 บาท โทษฐานก่อความร าคาญ
การส่งเมล์ ใส่ร้ายป้ายสีคนอื่น ข่าวลือที่ก่อให้เกิดความวุ่นวาย การส่งภาพลามกอนาจารทั้งหลาย
รวมถึงการได้รับแล้วส่งต่อด้วย มีโทษเสมอกันคือ จ าคุกไม่เกิน 5 ปี ปรับไม่เกิน 100,000 บาท ดังนั้นจึงไม่ควรส่ง
ต่อเมล์ที่ไม่เหมาะสม
การตัดต่อภาพของคนอื่น แล้วน าเข้าเผยแพร่ทางอินเตอร์เน็ต ท าให้เจ้าของภาพเสียหาย อับอาย
ต้องโทษจ าคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 600, 000 บาท แต่กฎหมายยกเว้นส าหรับผู้ที่ท าด้วยความสุจริต จะไม่เป็น
ความผิด
การ ใช้ user name/password ของผู้อื่น Log in เข้าสู่ระบบ มีความผิดตามมาตรา 5 ปรับไม่เกิน
10,000 บาทจ าคุกไม่เกิน 6 เดือน ดังนั้น ไม่ควรใช้user/password ของผู้อื่นและไม่ควรให้ผู้อื่นล่วงรู้
password ของตนเอง
การโพสต์ข้อความตามกระทู้ต่างๆที่มีเนื้อหาไม่เหมาะสม เป็นเท็จ กระทบความมั่นคง หรือลามก
อนาจาร มีความผิดตามมาตรา 14 ปรับไม่เกิน 100,000 บาทจ าคุกไม่เกิน 5 ปีดังนั้นจึงควรใช้วิจารณญาณใน
การแสดงความคิดเห็น และค านึงถึงผลที่จะตามมา
พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544
ความเป็นมาของพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544
รับรองสถานะทางกฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในการท าธุรกรรมหรือสัญญา
รับรองตราประทับอิเลคทรอนิกส์ซึ่งเป็นสิ่งที่ สามารถระบุถึงตัวผู้ท าธุรกรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์ได้เช่นเดียวกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส
สามารถน าเอกสารซึ่งเป็นสิ่งพิมพ์ออกของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์มาใช้แทน ต้นฉบับหรือ
ให้เป็นพยานหลักฐานในศาลได้
ส่งเสริมความเชื่อมั่นในการท าธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์และเสริมสร้างศักยภาพการ
แข่งขันในเวทีการค้าระหว่างประเทศ
เจตนารมณ์ในการร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544
โดยที่การทำธุรกรรมในปัจจุบันมีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนวิธีการในการติดต่อสื่อสารที่อาศัยการ
พัฒนาการเทคโนโลยีทาง อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งมีความสะดวก รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ แต่เนื่องจากการท าธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ดังกล่าวมีความแตกต่างจากวิธีการท าธุรกรรมซึ่งมีกฎหมายรองรับอยู่ในปัจจุบันเป็น อย่างมาก
อันส่งผลให้ต้องมีการรองรับสถานะทางกฎหมายของข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ให้เสมอกับการท าเป็นหนังสือ หรือ
หลักฐานเป็นหนังสือ การรับรองวิธีการส่งและรับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์การใชลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ตลอดจนการ
รับฟังพยานหลักฐานที่เป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเป็นการส่งเสริมการท าธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ให้น่าเชื่อถือ
และมีผลในทางกฎหมายเช่นเดียวกับการทำธุรกรรมโดยวิธีการทั่วไปที่เคยปฏิบัติอยู่เดิม อันจะเป็นการส่งเสริม
ความเชื่อมั่นในการท าธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์และเสริมสร้างศักยภาพการแข่งขันในเวทีการค้าระหว่างประเทศ
สาระสำคัญ
พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 มีทั้งหมด 46 มาตรา ซึ่งในบทเรียนนี้จะ
กล่าวถึง หมวดที่ 1 ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสหมวดที่ 2 ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ และหมวดที่ 6 บทก าหนดโทษ
ในบางมาตราเท่านั้น
ความรู้เกี่ยวกับอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
การกระท าใด ๆ ก็ตาม ที่เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ อันท าให้เหยื่อได้รับความเสียหาย และท า
ให้ผู้กระท าได้รับผลตอบแทน
การกระท าผิดกฎหมายใด ๆ ซึ่งจะต้องใช้ความรู้เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ มาประกอบการกระ
ผิด และต้องใช้ผู้มีความรู้ทางคอมพิวเตอร์ ในการสืบสวน ติดตาม รวบรวมหลักฐานเพื่อการด าเนินคดี จับกุม
อาชญากรคอมพิวเตอร์จะก่ออาชญากรรมหลายรูปแบบ
ประเภทของอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
1) การขโมยข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต ซึ่งรวมถึงการขโมยประโยชน์ในการลักลอบใช้บริการ
2) อาชญากรน าเอาระบบการสื่อสารมาปกปิดความผิดของตนเอง
3) การละเมิดสิทธิ์ปลอมแปรงรูปแบบ เลียนแบบระบบซอฟต์แวร์โดยมิชอบ
4) ใช้คอมพิวเตอร์แพร่ภาพ เสียง ลามก อนาจาร และข้อมูลที่ไม่เหมาะสม
5) ใช้คอมพิวเตอร์ฟอกเงิน
6) อันธพาลทางคอมพิวเตอร์ที่เช้าไปก่อกวน ท าลายระบบสาธารณูปโภค เช่น ระบบจ่ายน้ า จ่าย
ไป ระบบการจราจร
7) หลอกลวงให้ร่วมค้าขายหรือลงทุนปลอม
8) แทรกแซงข้อมูลแล้วน าข้อมูลนั้นมาเป็น)ระโยชน์ต่อตนโดยมิชอบ เช่น ลักลอบค้นหารหัสบัตร
เครดิตของผู้อื่นมาใช้ดักข้อมูลทางการค้าเพื่อเอาผลประโยชน์นั้นเป็นของตน
9) ใช้คอมพิวเตอร์แอบโอนเงินบัญชีผู้อื่นเข้าบัญชีตัวเอง
ศึกษากรณีตัวอย่างเกี่ยวกับการกระทำความผิดและกฎหมาย
กรณีที่ 1: นายจ้างหรือผู้บังคับบัญชา เปิด e-mail ลูกจ้างหรือผู้ใต้บังคับบัญชาอ่านได้หรือไม่?
กรณีที่ 2: การ Copy รูปภาพ/ข้อความบนเว็บไซต์ของผู้อื่นมาใช้ เป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ทุกกรณีหรือ
เปล่า?
กรณีที่ 3: การหมิ่นประมาททางอินเทอร์เน็ต สามารถฟ้องร้องเอาผิดได้หรือไม่?
กรณีที่ 4: การท า Hyperlink อย่างไรไม่ให้ละเมิดลิขสิทธิ์?
กรณีที่ 5: โหลดโปรแกรมหรือเพลงทางอินเทอร์เน็ตผิดกฎหมายหรือเปล่า?
กรณีที่ 6: ซื้อโปรแกรมลิขสิทธิ์มา copy แจกเพื่อนได้หรือเปล่า?
คำแนะนำเพื่อป้องกันการกระทำความผิด
ปฏิบัติตัวอย่างไรให้ปลอดภัยจากการกระท าความผิด
ไม่ตัดต่อและเผยแพร่ภาพตัดต่อของผู้อื่น ที่ท าให้เขาเสียหายหรือเสียชื่อเสียง
ก่อนดาวน์โหลดโปรแกรมหรือข้อมูลจากเว็บไซต์ ควรอ่านเงื่อนไขให้ละเอียดเสียก่อน
ไม่ส่งต่อ (forward) อีเมล์ หรือคลิปวิดีโอภาพลามกอนาจารหรือข้อความที่ไม่เหมาะสม
ไม่เผยแพร่ spam mail หรือไวรัส
ไม่เปิดเผยมาตรการระบบคอมพิวเตอร์ให้ผู้อื่นล่วงรู
ไม่ขโมยข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
ระวังการ chat กับคนแปลกหน้า อย่าหลงเชื่อเขาง่าย ๆ
อย่าลืมลงโปรแกรมป้องกันไวรัสและสปายแวร์
ไม่แฮกระบบคอมพิวเตอร์หรือข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
ไม่ควรบันทึกรหัสผ่าน (Password) ไว้ในคอมพิวเตอร์ และควรเปลี่ยนรหัสผ่าน (password) ทุก ๆ 3
เดือน
ไม่แอบดักรับข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
ไม่น าเข้าข้อมูลหรือภาพลามกอนาจารเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร
อย่าแอบเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยที่เจ้าของไม่อนุญาต
ให้ความร่วมมือกับพนักงานเจ้าหน้าที่ในการสืบสวนสอบสวนตัวผู้กระท าผิด
จริยธรรมกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของจริยธรรม และจริยธรรมของนักสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศมีผลกระทบต่อสังคมเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะประเด็นจริยธรรมที่เกี่ยวกับระบบ
สารสนเทศที่จ าเป็นต้องพิจารณารวมทั้งเรื่องความปลอดภัยของระบบสารสนเทศการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศหากไม่มีกรอบจริยธรรมก ากับไว้แล้ว สังคมย่อมจะเกิดปัญหาต่าง ๆ ตามมาไม่สิ้นสุด รวมทั้งปัญหาอาชญากรรม
คอมพิวเตอร์ด้วย ดังนั้นหน่วยงานที่ใช้ระบบสารสนเทศจึงจ าเป็นต้องสร้างระบบความปลอดภัยเพื่อป้องกันปัญหา
ดังกล่าว
ประโยชน์ของการมีจริยธรรม
ประโยชน์ต่อตนเอง ภาคภูมิใจ เป็นที่รักใคร่ เป็นคนดี
ประโยชน์ต่อสังคม สบสุข ปรองดอง สามัคคี
ประโยชน์ต่อประเทศชาติ ความเจริญรุ่งเรือง สามัคคี ความพัฒนา
ประโยชน์ต่อองค์กรธุรกิจ ยกระดับมาตรฐานขององค์กร
ประโยชน์ต่อการด ารงรักษาไว้ซึ่งจริยธรรม เผยแพร่ รักษาจริยธรรมไปสู่รุ่นต่อไป
จริยธรรมของนักคอมพิวเตอร์
มีความรับผิดชอบต่อการขายสินค้าและบริการ
ท างานด้วยความศรัทธา และจริงใจ
รักษาผลประโยชน์ของผู้บริโภค
น าเสนอคุณภาพสินค้าตามความจริง
ไม่เผยแพร่สิ่งที่ก่อให้เกิดผลเสียต่อสังคม
ท าตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบของสังคม
ท าประโยชน์ต่อสังคม
นาย มะสุกรี บีรู 6319013805013
นาย อัมรินทร์ เล๊าะหวัง 6319013805030