Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 กลไกการเกิดพฤติกรรม - Coggle Diagram
บทที่ 2 กลไกการเกิดพฤติกรรม
กลไกการเกิดพฤติกรรม
เนื้อเยื่อ
กลุ่มของเซลล์ที่มีโครงสร้างหน้าที่ใกล้เคียงกันร่วมกันเป็นรูปร่าง
อวัยวะ
ส่วนประกอบของเนื้อเยื่อ2ชิ้นขึ้นไป
เซลล์
หน่วยสิ่งมีชีวิตพื้นฐานทุกเผ่าพันธุ์
ระบบอวัยวะ
กลุ่มของอวัยยวะ
ออการ์แนล
เป็นโครงาร้างเล็กที่อยู่ในเซลล์
บรรนจุข้อมูลทางพันธุศาสตร์ของเซลล์
ร่างกาย
การประสายงานการทำงานของระบบอวัยยะ
เคมี
โครงสร้างในทุกระบบมีความเกี่ยวข้องดับปฎกิริยาระหว่างอะตอม
ระบบของร่างกาย
ระบบกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อเรียบ
พบในบริเวณม่านตา ผนังหลอดเลือด กระเพาะปัสสาวะ
กล้ามเนื้อหัวใจ
พบที่หัวใจเท่านั้น มีลักษณะเป็นเส้นใยลาย ทำงานภายใต้ระบบประสารทอัตโนมัติ
กล้ามเนื้อลาย
เส้นใยกล้ามเนื้อ
จุดเชื่อมต่อประสารทกับกล้ามเนื้อ
สิ่งที่ปกคลุมเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
หน่อยของมอเตอร์
ต่อมไร้ท่อ
ไฮโปทาเลมัสและต่อมใต้สมอง
หน้าที่
ปล่อยและยับยังการทำงานของฮอร์โมนในต่อมใต้สมองส่วนหน้า
ควบคุมสิ่งแวดล้อมภายในร่างกาย เช่นการเต้นของหัวใจ อุณหภูมิ สมดุลน้ำ
ต่อมใต้สมองส่วนหน้าผลิตฮอร์โมน 6 ชนิด
ฮอร์โมนต่อมหมวกไต
กระตุ้นการทำงานของต่อมหมวกไตส่วนนอก
ฮอร์โมนต่อมเพศ
ประกอบด้วย2ฮอร์โมน FSH และ LH
กระตุ้นการทำงานของต่อมเพศ
ฮอร์โมนไทรอยด์
กระตุ้นการทำงานของต่อมไทรอยด์
ฮอรืโมนโปรแลคติน
ควบคุมการผลิตน้ำนม
ฮอร์โมนการเจริญเติบโต
กระตุ้นการแบ่งตัวของเซลล์การเจริญเติบโตของกระดุก
ฮอร์โมนเม็ดสี
กระตุ้นการทำงานของสีในผิวหนัง
ต่อมไพเนียล
ต่อมไพเนียล
เกี่ยวข้องกับวุฒิภาวะของอวัยวะเพศ
ต่อมไทรอยด์
ไทร็อกชิน
ควบคุมการเจริญเติบโตและพัฒนาการของบุคคล
แคลซิโตนิน
ทำให้ Ca ในเลือดลดลง
ต่อมพาราไทรอยด์
ทำให้ระดับ Ca ในเลือดเพิ่มขึ้น
ต่อมไทมัส
กระตุ้นเซลล์คุ้มกันให้แก่ร่างกาย
ต่อมหมวกไต
คอร์ติโซน ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้น
อัลโดสเตอโรน ทำให้ไตมีการดูดซึม Na กลับ
ฮอร์โมนเพศ กระตุ้นการพัฒนาลักาณะทุติยภูมิทางโดยเฉพาะเพสชาย
ต่อมในตับอ่อน
อินซูลิน ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ
กลูคากอน ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดเพิ่มขึ้น
ระบบประสาท
โครงสร้างของเซลล์ประสาท
ทำหน้าที่ประมวผลกระบวนการข้อมูล
เซลล์ประสาทแต่ละตัวประกอบด้วย
ตัวเซลล์
เดนไดรต์
รับกระแสประสาทเข้าสู่ตัวเซลล์
แอกซอน
ปล่อยกระแสประสาทออกจากแอกซอน
ส่วนปลายของแอกซอน
กระตุ้นยับยังการรับข้อมูลจากเซลล์และช่วยกำหนดปฏิกิริยาของพลังงาน
ปลอกหุ้ม
เหนี่ยวนำกระแสประสาทด้วยความเร็ว
ไซแนปส์
ประเภทของเซลล์ประสาท
เซลล์ประสาทหลั่งการ
ทำหน้ามี่นำข้อมูลข่าวสารออกจากระบบประสาทส่วนกลางไปยังเซลล์กล้ามเนื้อ
เซลล์ประสาทเชื่อมโยง
ทำหน้าที่ประสานการทำงานขแงเซลล์ประสาทรับความรู้สึกและเซลล์ประสาทสั่งการ
เซลล์ประสาทรับความรู้สึก
ระบบประสาทส่วนกลาง
สมอง
สมองส่วนหน้า
ซีรีบรัม
ส่วนหน้า
ควบคุมการเคลื่อนไหวของร่างกาย
เกี่ยวข้องกับความจำ อารมณ์ เหตุผล การตักสิ้นใจ
ควบคุมการพูด
ส่วนกลาง
รับผิดชอบด้านความรู้สึก
ส่วนข้าง
มีบทบาทกับการได้ยิน
แปลประสบการ์ณความรู้สึก
ส่วนหลัง
มีบทบาทกับการมองเห็น
ไดเอนเซฟาลอน
ทาลามัส
เป็นศูนย์กลางของการรับความรู้สึกทุกชนิดยกเว้นการได้กลิ่น
ไฮโปทาลามัส
ควบคุมสมดุลของการมีชีวิตของร่างกาย
ระบบลิมบิก
อะมิกดาลา
เกี่ยวข้องกับการแยกแยะวัตถุ
เกี่ยวข้องกับการตระหนักรู้ของอารมณ์
ฮิปโปแคมปัส
เก็บความจำ
บาซาร์แกลงเลีย
ควบคุมการเคลื่อนไหวโดยความสมัครใจ
สมองส่วนกลาง
เรติคิวราฟอร์เมชั่น
ดูแลซีรีบรัมให้อย่ในสภาวะการตื่นตัวและเลืกรับความรู้สึก
ประสานการทำงานของกล้ามเนื้อลาย
สมองส่วนหลัง
เมดุลลา
การเต้นของหัวใจ และการหายใจ
พอนส์
ควบคุมการหายใจระดับลึก
ซีรีเบลลัม
ประสานการหดตัวของกล้ามเนื้อลายและการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ
ไขสันหลัง
ระบบประสาทโซมาติค
ทำให้กล้ามเนื้อเกิดการเคลื่อนไหว รับความรู้สึกสัมผัส อุณหภูมิและความเจ็บปวด
ระบบประสารทอัตโนมัติ
ซิมพาเอติค
ขยายรูม่านตา
กระตุ้นอัตราการเต้นของหัวใจ
หลอดเลือดหดตัว
พาราซิมเธติค
ทำงานตรงข้ามกับซิมพาเอติค