Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 7 การปฏิรูปแนวทางการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร - Coggle…
หน่วยที่ 7 การปฏิรูปแนวทางการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ปัจจัยที่มีผลต่อการกำหนดระบบการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ระบบการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร กับองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทางการเกษตร
ประเภทผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร
สาขาพืช
สาขาปศุสัตว์
สาขาประมง
สาขาป่าไม้
สาขาบริการทางการเกษตร
ปัจจัยการผลิต
ที่ดิน
แหล่งน้ำ
แรงงาน
ทุน
ปัจจัยการผลิต
เครื่องมือ
พลังงาน
กระบวนการทางการเกษตรกรรม
การผลิต
การแปรรูป
การกำหนด+รับรองมาตรฐาน
การขนส่ง
การตลาด
การวิจัยและพัฒนา
ระบบการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร กับองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์
การเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ระดับโลก
ด้านเศรษฐกิจ
กฎระเบียบการค้า
ความผันผวนทางเศรษฐกิจ
ด้านสังคม
ประชากรโลกเพิ่มสูงขึ้น
การเข้าสู่สังคมสูงอายุ
ด้านความมั่นคง +สวล.
ความมั่นคงทางอาหาร
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิโลก
กระแสอนุรักษ์นิยม
ด้านการบริหารจัดการ
เทคโนโลยีก้าวหน้า
การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ
การเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ภายในประเทศ
ด้านเศรษฐกิจ
ด้านความมั่นคง+สวล.
ด้านสังคม
ประชากรโลกเพิ่มสูงขึ้น
การเข้าสู่สังคมสูงอายุ
ความเหลื่อมล้ำทางรายได้
ด้านการบริหารจัดการ
การเปลี่ยนแปลงนโยบายของรัฐ
การน้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ระบบ ทิศทาง และผลการดำเนินงานในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ระบบการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
โครงสร้างการจัดองค์การ
องค์กรภาครัฐ
ส่วนกลาง
ภูมิภาค
ท้องถิ่น
องค์กรเอกชน
องค์กรภาคประชาชน
กระบวนการ
กำหนเกลยุทธ์
นำกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ
การติดตามและประเมินผล
ทิศทาง และผลการดำเนินงานในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ทิศทางในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ
สร้างความสามารถในการปรับปรุงและวิธีการบริหาร
สร้างความเข้มแข็งให้ภาคีเครือข่าย
การพัฒนาระบบบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ
การจัดการความเสี่ยง
ทำการเกษตรสมดุลและยั่งยืน
การพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
การเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการเกษตรกรรม
พัฒนาขีดความสามารถการบริหารจัดการสินค้าเกษตร
เพิ่มความสามารถในการแข่งขัน
สร้างมูลค่าเพิ่มสินค้าเกษตร+ผลิตภัณฑ์
การดำเนินงาน
โครงสร้าง
กระบวนการ
เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ
สร้างความเข้มแข็งเกษตรกรด้วยเศรษฐกิจพอเพียง
เพิ่มความสามารถในการแข่งขัน
พัฒนากฎหมายที่เกี่ยวข้อง
การเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการเกษตรกรรม
เพิ่มประสิทธิภาพกาจัดการสินค้าเกษตร
เพิ่มความสามารถแข่งขัน
พัฒนาการตลาด
ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศ
เพิ่มประสิทธิภาพตลอดห่วงโซ่อุปทาน
เชื่อมโยงต่างประเทศ
ผลการดำเนินงาน
แผนพัฒนาฯ ฉ.10
ผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ
ผลิตภาพการผลิตทางการเกษตร
ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตภาคเกษตร
แผนพัฒนาฯ ฉ.11
ความผาสุกของเกษตรกร
การเติบโตของเศรษฐกิจภาคเกษตร
พื้นที่การเกษตรได้รับการบริหารจัดการ
ปัจจัยเสี่ยง+ข้อจำกัด
การพัฒนาระบบการบริหารงาน และการปฏิรูปแนวทางการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การพัฒนาระบบ
ประเด็นปัญหา
โครงสร้าง
กระบวนการ
ประเด็นศักยภาพ
แนวคิดในการพัฒนาระบบ
พัฒนาการจัดการให้ทันสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง
การพัฒนาองค์ประกอบเกษตรกรรม
การปฏิรูปแนวทางการบริหารงาน
ประเด็นปัญหา
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12
การพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ
สร้างความร่วมมือภาคีเครือข่าย
ปรับปรุงกฎหมาย
บูรณาการให้เป็นไปตามแผนที่วางไว้
สร้างความรู้ ความเข้าใจ
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน+ทรัพยากร
การพัฒนากระบวนการเกษตรกรรม
พัฒนาการจัดการสินค้าเกษตรตลอดโซ่อุปทาน
เพิ่มความสามารถในการแข่งขันด้วยเทคโนโลยี
บริหารจัดการทรัพยากรณ์+สวล.
ประเด็นการพัฒนาจากนโยบายของรัฐบาล
ประเด็นจากหลักการปฏิรูปการเกษตรของประเทศ
การปฏิรูปแนวทาง
การพัฒนาระบบการบริหาร
การส่งเสริมแนวทางในการกำหนดรูปแบบ
การส่งเสริมแนวทางบริหารสมัยใหม่
ส่งเสริมให้นำเทคโนโลยีในการพัฒนา
การส่งเสริมการจัดการความรู้
การพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
ส่งเสริมการวิจัย+พัฒนา
ส่งเสริมตลาดนำการผลิต
การพัฒนาองค์ประกอบอื่นๆ
ปัจจัยของความสำเร็จ
ระบบและวิธีการบริหาร
การพัฒนาองค์กรด้านโครงสร้าง
กำหนดรูปแบบการพัฒนาแบบมีส่วนร่วม
กำหนดวิธีเชื่อมโยงการทำงาน
การพัฒนาองค์กรด้านกระบวนการผลิตให้เป็นกระบวนเชิงกลยุทธ์
ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมในการพัฒนา
เตรียมพร้อมการรับรองการเปลี่ยนแปลง
ปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
ความพร้อมของปัจจัยการผลิต
ทำเลที่ตั้ง
ปริมาณ+คุณภาพปัจจัยการผลิต
การอนุรักษ์และพัฒนาปัจจัยการผลิต
การกำหนดแผน
การใช้ประโยชน์อย่างประหยัด
กระบวนการของเกษตรกรรม
ส่งเสริม+พัฒนาที่เหมาะกับวัตถุประสงค์
การพัฒนากระบวนการสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง
ส่งเสริมการวิจัย+พัฒนา ด้านปัจจัยการผลิต
ติดตาม ตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์
การส่งเสริม+พัฒนาคุณลักษณะเชิงพฤติกรรม
ผู้บริหาร
เกษตรกร
ผู้ได้รับผลจากการดำเนินการส่งเสริม