Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
รูปแบบการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21, นางสาวทิพย์เสน่ห์ จันทบุรี รหัส…
รูปแบบการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ที่มาของการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
การศึกษาในศตวรรษ
ที่ 21 เป็นการเตรียมคนไปเผชิญการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว รุนแรง พลิกผัน และคาดไม่ถึง คน
ยุคใหม่จึงต้องมีทักษะที่สูงในการเรียนรู้และปรับตัว ครูเพื่อศิษย์ต้องพัฒนาตนเองให้มีทักษะของการเรียนรู้ด้วย และในขณะเดียวกันต้องมีทักษะในการท าหน้าที่ครูในศตวรรษที่ 21 ซึ่งไม่
เหมือนการท าหน้าที่ครูในศตวรรษที่ 20 หรือ 19ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 เป็นทักษะที่มี
ความส าคัญในการด ารงชีวิตและท างานในระบบสังคมและเศรษฐกิจ
ความสาคัญของการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
การศึกษาในศตวรรษที่ 21 มีความสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งต่อการดำรงชีวิตในศตวรรษใหม่จะช่วยเตรียมความพร้อมให้คนรู้จักคิด เรียนรู้ ทeงาน แก้ปัญหา สื่อสารและร่วมมือทำงานได้อย่างมีประสิทธิผลไปตลอดชีวิต
องค์ประกอบที่สำคัญและจำเป็นเพื่อในการเรียนรู้ของนักเรียนทักษะในศตวรรษที่ 21
การประเมินด้านทักษะในศตวรรษที่ 21
ช่วยให้การพัฒนาคุณภาพนักเรียนนักศึกษาที่แสดงให้เห็นการเรียนรู้ทักษะในศตวรรษที่ 21 เพื่อการศึกษาและการทำงานในอนาคต รวมทั้งช่วยให้มาตรการการประเมินประสิทธิภาพระบบการศึกษาในระดับที่สูงประเมินถึงสมรรถนะของนักเรียนด้านทักษะในศตวรรษที่ 21
รองรับความสมดุลของการประเมินรวมทั้งมีคุณภาพสูง การทดสอบมาตรฐานที่มีคุณภาพสูงพร้อมกับการประเมินผลในชั้นเรียนที่มีประสิทธิภาพ เน้นข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงานของนักเรียนที่ถูกฝังลงในการเรียนรู้ในชีวิตประจำวัน การประเมินการใช้เทคโนโลยีให้มีความสมดุล ความชำนาญนักเรียนซึ่งเป็นการวัดทักษะในศตวรรษที่ 21
มาตรฐานศตวรรษที่ 21
เน้นความเข้าใจอย่างลึกซึ้งมากกว่าความรู้แบบผิวเผิน
การมีส่วนร่วมของนักเรียนกับข้อมูลและเครื่องมือในโลกแห่งความเป็นจริง
มุ่งเน้นทักษะในศตวรรษที่ 21 นักเรียนมีความรู้ในเนื้อหาและความเชี่ยวชาญ สร้างความเข้าใจระหว่างวิชาหลัก
การแก้ปัญหาที่มีความหมาย และการมีมาตรการหลายๆรูปแบบของการเรียนรู้
หลักสูตรและการสอนในศตวรรษที่ 21
สอนทักษะในศตวรรษที่ 21 ซึ่งแยกกันในบริบทของวิชาหลักและ รูปแบบสหวิทยาการในศตวรรษที่ 21 มุ่งเน้นไปที่การให้โอกาสสำหรับการใช้ทักษะในศตวรรษที่ 21 ในเนื้อหาและวิธีการตามความสามารถในการเรียนรู้
การพัฒนามืออาชีพในศตวรรษที่ 21
ครูมีแนวทางการสอนมีความสามารถสำหรับการบูรณาการทักษะในศตวรรษที่ 21 เครื่องมือและกลยุทธ์การเรียนการสอนไปสู่การปฏิบัติในชั้นเรียนของพวกเขา การเรียนการสอนมที่มุ่งเน้นการทำโครงงาน แสดงให้เห็นว่ามีความรู้ความเข้าใจในเรื่องจริงสามารถเพิ่มการแก้ปัญหาการคิดเชิงวิพากษ์และอื่น ๆ
สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
สร้างการเรียนรู้วิธีปฏิบัติที่สนับสนุนความต้องการของมนุษย์และสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่จะสนับสนุนการเรียนการสอนและการเรียนรู้ด้วยทักษะในศตวรรษที่ 21 สนับสนุนการเรียนรู้ชุมชนมืออาชีพที่ช่วยให้การศึกษาเพื่อการทำงานร่วมกันแบ่งปันแนวทางปฏิบัติที่ดีและบูรณาการทักษะในศตวรรษที่ 21 ในการปฏิบัติในชั้นเรียน
กระบวนการจัดการเรียนรู้แนวใหม่สไตล์ศตวรรษที่ 21
โรงเรียนขนาดใหญ่ หลายโรงเรียนได้เพิ่มรายวิชาที่สามารถจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้ เรียนให้เกิดทักษะได้ โดยใช้ชื่อวิชาว่า การค้นคว้าอิสระ หรือ Independent Study หรือเป็นที่รู้จักกันว่าวิชา IS ซึ่งเป็นหลักสูตรรายวิชาที่มีสาระการเรียนรู้ที่สถานศึกษาสร้างขึ้นให้ผู้ เรียนได้เลือกเรียนวิชาตามความถนัด ตามความสนใจ ตามความต้องการและความแตกต่างระหว่างบุคคล เนื้อหาที่ต้องจัดการเรียนรู้มี 3 ส่วนด้วยกัน คือ
IS2 การสื่อสารและการนำเสนอ
เป็นการเรียนรู้ที่ต่อเนื่องจากวิชาแรกโดยผู้เรียนนำสิ่งที่ได้ศึกษา ค้นคว้าจาก IS1 มาเขียนรายงาน หรือเอกสารทางวิชาการ และนำเสนอเพื่อสื่อสาร ถ่ายทอดความรู้ที่ตนไปศึกษามา ให้ผู้อื่นเข้าใจได้
IS3 การนำความรู้ไปใช้บริการสังคม
เป็นการนำความรู้เพื่อนำไปให้บริการทางสังคม นำสิ่งที่ได้เรียนรู้มา จากรายวิชา IS1 และ IS2 มาประยุกต์ใช้และทำประโยชน์ให้แก่สังคม
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ในวิชานี้ผู้เรียนจะได้รับการพัฒนาให้เกิดการเรียนรู้ ในการเลือกประเด็นปัญหา ตั้งสมมติฐาน ค้นคว้า การแสวงหาความรู้ จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ และฝึกทักษะการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสร้างองค์ความรู้ให้กับตนเองได้
ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21
กลุ่มความรู้ ทักษะ และนิสัยการท างาน ที่เชื่อว่ามีความส าคัญยิ่งต่อความส าเร็จในการเรียนรู้ตลอดชีวิต ทักษะดังกล่าวนี้เป็นผลจากการพัฒนากรอบความคิดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
3Rs x 7Cs = ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21
3Rs
Writing (’Riting-ทักษะการเขียน)
Reading (ทักษะการอ่าน)
Arithmetic (’Rithmetic-ทักษะเลขคณิต)
7Cs
ด้านการสื่อสารสารสนเทศและการรู้เท่าทันสื่อ
(communications, information, media
literacy)
ด้านความร่วมมือ การท างานเป็นทีมและภาวะผู้น า (collaboration, teamwork and
leadership)
ด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม (creativity and innovation)
ด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา (critical thinking and problem solving)
ด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (computing and ICT literacy
ด้านการท างาน การเรียนรู้ และการพึ่งตนเอง (career and learning self–reliance)
ด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (cross–cultural understanding)
แนวทาง
การศึกษาไทยในการเรียนรู้ในศตวรรษใหม่ที่ควรจะเดินไปข้างหน้า
เนื้อวิชา (Subject Matter)
ทักษะและความรักในการเรียนรู้
ทักษะชีวิต (Life and Professional Skill)
นางสาวทิพย์เสน่ห์ จันทบุรี รหัส 6246702017 กลุ่ม01