Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เครื่องช่วยหายใจ - Coggle Diagram
เครื่องช่วยหายใจ
-
-
-
-
ชนิดของเครื่องช่วยหายใจ
1.Volume cycle ventilator เครื่องช่วยหายใจชนิดนี้ การหายใจเข้าจะสิ้นสุดลงเมื่อได้ปริมาตรตามที่ตั้งไว้และจะเปลี่ยนเป็นการหายใจออทันที
2.Pressure cycle ventilator เครื่องช่วยหายใจชนิดนี้ การหายใจเข้าจะสิ้นสุดเมื่อได้รับความดันตามที่ตั้งไว้ เครื่องช่วยหายใจชนิดนี้อาจเป็นอันตรายจากการได้รับความดันสูง ๆได้
3.Time cycle ventilator เครื่องช่วยหายใจชนิดนี้ ใช้ระยะเวลาในกายหายใจเป็นตัวสิ้นสุดการหายใจเข้า เมื่อครบเวลาที่ตั้งไว้แล้ว จะสิ้นสุดการหายใจเข้าเป็นหายใจออกทันที
4.Dual control เครื่องช่วยหายที่ประกอบด้วย Pressure control และ volume control ร่วมกับความดันในการหายใจเข้าระหว่างการหายใจแต่ละครั้งจะปรับเปลี่ยนโดยอัตโนมัติ เพื่อให้ได้ Tidal volume คงที่ในทุกครั้งของการหายใจ
-
-
เป็นเครื่องมือที่สร้างขึ้นเพื่อช่วยให้มีการระบายอากาศเข้า-ออกจากปอดและควบคุมระดับออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ที่เหมาสม
คำสำคัญที่เกี่ยวข้องกับเครื่องช่วยหายใจ
- VT ปริมาตรอากาศที่ไหลเข้าและออกจากปอดต่อการหายใจ1ครั้ง
- VE ปริมาตรลมหายใจออกทั้งหมดใน 1 นาที
- PIP=PAP แรงดันสูงสุดในทางเดินหายใจส่วยต้นช่วงหายใจเข้า
- MAP ค่าเฉลี่ยแรงดันในหลอดลมและสาย circuit ระหว่างหายใจเข้าและออก
- FiO2 ค่าความเข้มข้นหรือสัดส่วนของก๊าซออกซิเจนในลมหายใจเข้า
- RR อัตราการหายใจ
- PEEP ความดันช่วยหายใจออกที่มีค่ามากกว่าความดันบรรยากาศ
- PIF อัตราการไหลสูงสุดของก๊าซที่เครื่องจ่ายให้ผู้ป่วย
- I:E ระยะเวลาหายใจเข้า:ระยะเวลาหายใจออก
- Paw แรงดันนทางเดินหายใจส่วนต้นขณะใช้เครื่องช่วยหายใจ
- IF อัตราการไหลของอากาศที่เข้าสู่ปอด
- Pplat แรงดันที่ใช้ขยายปอดวัดด้วยการหยุดการไหลของลมเข้าปอดต่อจากช่วงหายใจสุด
ระยะการหายใจในเครื่องช่วยหายใจ
- Trigger ระยะเวลาเริ่มหายใจเข้า ซึ่งขึ้นนอยู่กับประเภทของเครื่องช่วยหายใจที่ใช้ประกอบด้วย
- Limit ระยะเวลาหายใจเข้า เครื่องช่วยหายใจจะจำกัดค่าที่ตั้งไว้ไม่ให้เกินกำหนด
- Cycle ระยะเวลาหายใจออก exhalation valve เปิด สิ้นสุดการหายใจเข้า
- ระยะหายใจออก exhalation valve ไล่อาการออกจากปอดของผู้ป่วยโดยที่ผู้ป่วยไม่ต้องใช้แรง
- Baseline ระยะเวลาสิ้นสุดการหายใจออกและเริ่มการหายใจเข้าใหม่อีกครั้ง
ภาวะแทรกซ้อนจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ
- ระบบหัวใจและไหวเวียนเลือด การใช้เครื่องช่วยหายใจจะทำให้เลือดดำที่ไหนกลับหัวใจลดลง
- ถุงลมแตก (Barotrauma)
- ปอดแฟบ กล้ามเนื้อหายใจอ่อนแรง
- การติดเชื้อที่ระบบทางเดินหายใจ
- . ภาวะแทรกซ้อนจากการใส่ท่อหลอดลม
การพยาบาลผู้ป่วยขณะใช้เครื่องช่วยหายใจ
- ประเมินความสุขสบายของผู้ป่วย คือไม่มีอาการแสดงของภาวะพร่องออกซิเจน
- ประเมินการแลกเปลี่ยนก๊าซ
- ประเมินสภาพปอด
- การประเมินท่อช่วยหายใจ
- ประเมินสัญญาณชีพ ทุก 1-2 ชั่วโมง เพื่อประเมินการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
- จัดท่านอนให้ผู้ป่วยยอยุ่ในท่าศรีษะสูง 30-60 องศาเสมอเพื่อที่จะได้หายใจได้สะดวก
- ดูแลการดูดเสมหะเมื่อจำเป็น
- ดูแลสายวงจรไม่ให้หักพับงอ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
- เสี่ยงจ่อภาวะเซลล์และเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจน เนื่องจากได้รับออกซิเจนไม่เพเยงพอและการขับคาร์บอนไดออกไซด์ไม่สมดุล
- เสี่ยงต่อการเกิดทางเดินหายใจอุดกั้น เนื่องจากการขับเสมหะไม่มีประสิทธิภาพ
- ยงต่อการหย่าเครื่องช่วยหายใจไม่สำเร็จ เนื่องจากร่างการไม่สามารถปรับตัวให้หายใจเองได้
- การสื่อสารบกพร่อง เนื่องจากไม่สามารถพูดได้จากการใส่ท่อช่วยหายใจ
- เกิดความรู้สึกสูญเสียอำนาจ เนื่องจากมีข้อจำกัดในการดำเนินชีวิต