Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 พื้นฐานชีววิทยาของพฤติกรรม - Coggle Diagram
บทที่ 2
พื้นฐานชีววิทยาของพฤติกรรม
1.กลไกการเกิดพฤติกรรม
1.1 โครงสร้างพื้นฐานของสรีระและหน้าที่การทำงาน
4.เนื้อเยื่อ
คือกลุ่มเซลล์ที่มีโครงสร้างและหน้าที่ใกล้เคียงกันกลายเป็นรูปร่างของเนื้อเยื่อ
5.อวัยวะ
คือ ส่วนประกอบของเนื้อเยื่อตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป ทำหน้าที่เฉพาะอย่าง
6.ระบบอวัยวะ
คือกลุ่มของอวัยวะกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งที่ทำหน้าที่ในร่างกายอย่างใดอย่างหนึ่ง
3.เซลล์
คือหน่วยสิ่งมีชีวิตพื้นฐานของมนุษย์ในทุกเผ่าพันธ์
2.ออการ์เนล
คือ โครงสร้างเล็กที่อยู่ภานในเซลล์ ที่บันทึกข้อมูลทางพันธุศาสตร์ของเซลล์
7.ร่างกาย
คือ การคงสภาพการมีชีวิตอยู่โดยรวมของมนุษย์ซึ่งจะมีการประสานการทำงานของระบบอวัยวะต่างๆ อย่างสลับซับซ้อนและมีการทำงานร่วมกัน
1.เคมี
โครงสร้างในทุกระบบถูกกำหนดจากเคมี
1.2 กระบวนการเกิดพฤติกรรม
การแสดงออกของพฤติกรรมมนุษย์มีกระบวนการเกิดพฤติกรรมที่ซับซ้อน การแสดงพฤติกรรมออกมา เกิดเมื่อมีสิ่งเร้าภายนอกและสิ่งเร้าภายใน มากระตุ้น
2.ระบบของร่างกายกับการแสดงออกของพฤติกรรม
โดยส่วนใหญ่ จะเกี่ยวข้องกับการทำงานของร่างกาย 3 ระบบ ได้แก่
2.2 ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบนี้ก่อให้เกิดพฤติกรรมของมนุษย์ มีหน้าที่ในการประสานการทำงานในทุกส่วนของร่างกาย
1.ไฮโปทาลามัส
ควบคุมการเต้นหัวใจ อุณหภูมิในร่างกายและความสมดุลของน้ำในร่างกาย
2.ต่อมไพเนียล
กระตุ้นการทำงานจังหวะการเต้นของหัวใจ และเกี่ยวข้องกับวุฒิภาวะทางเพศ
3.ต่อมไทรอยด์
ทำให้อัตราการเผาผลาญของร่างกายสูงขึ้นควบคุมการเจริญเติบโตและพัฒนาการของบุคคล
4.ต่อมพาราไทรอยด์
ทำให้ระดับแคลเซียมในเลือดเพิ่มขึ้น
5.ต่อมไทมัส
กระตุ้นความพร้อมของลิมโฟไซท์ และกระตุ้นเซลล์ภูมิคุ้มกัน
6.ต่อมหมวกไต
ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้น กระตุ้นการแตกตัวของโปรตีน ฮอร์โมนอัลโดสเตอโรน
8.ต่อมเพศ
กระตุ้นการผลิดอสุจิในเพศชาย และผลิตฮอร์โฒน เอสโตรเจน และ โปรเจสเตอโรน กระตุ้นการเจริญเติบโตของมดลูกในเพศหญิง
7.ต่อมในตับอ่อน
ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ สร้างเสริม การทำงานของไกโคเจน โปรตีน และไขมัน
2.3 ระบบประสาท
เป็นศูนย์กลางการควบคุม และสั่งการการแสดงออกของพฤติกรรมมนุษย์
1.โครงสร้างของเซลล์ประสาท
หน่วยย่อยพื้นฐานของระบบประสาท มีประมาณพันล้านเซลล์
3.แอกซอน
ปล่อยกระแสประสาท
4.ส่วนปลายของแอกซอน
กระตุ้นและยับยั้งการรับข้อมูล จากเซลล์และช่วยกำหนดปฏิกิริยาของพลังงาน
2.เดนไดรต์
รับกระแสประสาทเข้าสู่ตัวเซลล์
5.เกลียเซลล์ หรือ นีโรเกลีย
สนับสนุนการทำงานของเซลล์ประสาท
1.ตัวเซลล์
บรรจุนิวเคลียส
6.ปลอกหุ้ม
เหนี่ยวนำกระแสประสาทด้วยความรวดเร็ว
9.ไซแนปส์
เกี่ยวข้องกับการนอนหลับ การตื่น อารมณ์ ความสนใจ และการเรียนรู้
2.ประเภทของเซลล์ประสาท
2.เซลล์ประสาทสั่งการ
นำข้อมูลข่าวสารออกจากระบบประสาทส่วนกลางไปยังเซลล์กล้ามเนื้อ
3.เซลล์ประสาทเชื่อมโยง
ประสานการทำงาน และเชื่อมโยงสัญญาณต่างๆของเซลล์ประสาทให้อยู่ในรูปของปฏิกิริยาสะท้อนอัตโนมัติ
1.เซลล์ประสาทรับความรู้สึก
รับข้อมูลจากอวัยวะสัมผัส
3.ระบบประสาทส่วนกลาง
แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ดังนี้
1.สมอง
2.ไขสันหลัง
2.1 ระบบกล้ามเนื้อ
มีองค์ประกอบของกล้ามเนื้อต่างๆ ดังนี้
1.กล้ามเนื้อลาย
โครงสร้างของกล้ามเนื้อลายประกอบขึ้นจากส่วนต่างๆ ดังนี้
2.เส้นใยกล้ามเนื้อ
3.จุดเชื่อมต่อประสาทกล้ามเนื้อ
1.สิ่งปกคลุมเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
4.หน่วยของมอร์เตอร์
2.กล้ามเนื่อเรียบ
กลไกการหดตัวของกล้ามเนื้อเรียบมีลักษณะการทำงานเช่นเดียวกับกล้ามเนื้อลาย แต่จะมีโครงสร้างและหน้าที่แตกต่างกัน
3.กล้ามเนื้อหัวใจ
พบในบริเวณหัวใจเท่านั้นมีลักษณะเป็นใยลาย และทำงานภายใต้ระบบประสาทอัตโนมัติ
3.งานวิจัยทางด้านชีววิทยาของพฤติกรรม
1.การศึกษาพันธุกรรมในส่วนของฝาแฝด
จากงานวิจัยของ Plomin ได้ชี้ให้เห็นว่า IQ มีส่วนในการกำหนดพันธุกรรมของฝาแฝด
2.การศึกษาพันธุศาสตร์พฤติกรรม
คือ การศึกษาระดับ และธรรมชาติของพันธุกรรม ที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม