Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการพยาบาลชุมชน - Coggle Diagram
กระบวนการพยาบาลชุมชน
1.การประเมินชุมชน (community assessment)
2.การตรวจสอบข้อมูล
ตรวจสอบเพื่อความถูกต้องของข้อมูล
1.การรวบรวมข้อมูล
การที่เข้าไปศึกษาชุมชนเพื่อหาข้อมูลและประเมินสภาพของชุมชนในด้านต่าง ๆ ทั้งกายภาพ ชีวภาพ ความเป็นอยู่ ระบบวิธีคิด อาขีพ ความสัมพันธ์ในชุมชน สภาวะด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคม วัฒนธรรม
ข้อมูลที่จำเป็นในการประเมินชุมชน
ข้อมูลประชากรศาสตร์
ข้อมูลทางเศรษฐกจิและสังคม
ข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม
ข้อมูลเกยวกับสถิติชีพและอนามัย
ข้อมูลเกี่ยวกับวิถีชีวิตและพฤติกรรมสุขภาพ
ข้อมูลเกี่ยวกับการบริหารด้านสาธารณสุข
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
1.การสัมภาษณ์ (Interview)
2.การสังเกต (Observation)
3.สนทนาแบบกลุ่ม
4.แจกแบบสอบถาม
3.การวิเคราะห์ข้อมูล(Analysis of Data)
ตรวจสอบข้อมูลให้มีความสมบูรณ์อีกครั้ง
2.แยกประเภทข้อมูล: ที่สัมพนัธ์เกี่ยวข้องกันแต่ละหมวดเพื่อตรวจสอบข้อมูล
3.แจกแจงความถี่:นำข้อมูลดิบมาแจกแจงความถี่หรือแจงนับ (Tally)
4.ตารางข้อมูล:เมื่อสามารถเลือกใช้สถิติกับกลุ่มข้อมูลต่าง ๆ ได้แล้วก็มา
สู่การสร้างตารางเพื่อรับรองการวิเคราะห์ข้อมูลขึ้น
5.สรุปข้อมูล
การนำเสนอข้อมูล(Presentation of data)
1.การนำเสนอแบบไม่มีแบบแผน
การนำเสนอในรูปบทความ
2.การนำเสนอในรูปกึ่งตารางกึ่งบทความ
2.การนำเสนอแบบมีแบบแผน
1.การนำเสนอในรูปตาราง
2.การนำเสนอแบบรูปกราฟ(Graphic)
3.แผนภูมิ( Chart Presentation)
2.การวินิจฉัยชุมชน และการจัดลำดับความสำคัญ
1.การระบุปัญหาสุขภาพชุมชน
1.การระบุปัญหาอนามัยสุขภาพชุมชนโดยใช้หลักของ 5 D
การระบุปัญหาโดยเปรียบเทียบกับเกณฑ์หรือค่ามาตรฐาน ซึ่งอาจเป็นเป้าหมายสาธารณสุขของจังหวัด/ประเทศ (แผนพัฒนาสาธารณสุขฯ/จปฐ.) หรือระหว่างประเทศ
การระบุปัญหาโดยใช้กระบวนการกลุ่ม (Nominal group process)
การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
2.1 ขนาดของปัญหา (Size of Problem )
2.2 ความรุนแรงของปัญหา (Seriousness )
2.3 ความเป็นไปได้ในการแก้ไขปัญหา (Feasibility)
2.4 ความตระหนักในปัญหาของชุมชน (Community Concern)
การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาอนามัยชุมชน
3.1 วิธีการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา
ปัจจัยนำ
(Predisposing factors)
ปัจจัยเอื้อ (Enabling factors)
ปัจจัยเสริม (Reinforcing factors)
หลักการระบาด
วิทยา
Web of causation
Fish bone diagram
Tree diagram
3.การวางแผนแก้ไขปัญหาชุมชน
ประเภทแผน
แบ่งตามเวลา
แผนระยะสั้น ระยะเวลาไม่เกิน สองปี
แผนระยะกลาง ระยะเวลาอยู่ระหว่าง 2-5 ปี
แผนระยะยาว ระยะเวลามากกว่า 5 ปีขึ้นไป
ประเภทโครงการ
ประเพณีนิยม
เหตุผลสัมพันธ์
4.การดำเนินการตามแผน
หลัก PDCA
Plan
Do
Check
Act
5.การประเมินผลโครงการ
การประเมินตามหลัก CIPP
context
Input
process
product
ประสิทธิภาพ
ประสิทธิผล
output
outcome
complax