Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:<3:1.Normal physiology during intrapartum period :<3:,…
:<3:1.Normal physiology during intrapartum period :<3:
:star:ทฤษฎีก่อเกิดการเจ็บครรภ์
:red_flag:Progesterone Withdrawal theory
:pencil2:กล้ามเนื้อมดลูกจะเริ่มมีการหดรัดตัวเมื่อระดับ progesterone ในกระแสเลือดลดลงจากระดับปกติ
:red_flag:Fetal Cortisol Theory
:pencil2:เมื่อทารกในครรภ์เจริญเติบโตเต็มที่ ต่อมหมวกไตจะไวต่อ adreno corticotropic hormone ที่สร้าง จากต่อมใต้สมองเพิ่มมากขึ้น ช่วยกระตุ้นให้หลั่งฮอร์โมน cortisol มากขึ้น ทำให้กล้ามเนื้อมดลูก เริ่มหดรัดตัวและเกิดการเจ็บครรภ์คลอด
:red_flag:Oxytocin Theory
:pencil2:การคลอดเป็นภาวะเครียดของร่างกายที่ทำให้ต่อมใต้สมองส่วนหลังหลั่ง oxytocin ออกมามาก กล้ามเนื้อมดลูกก็จะทำงาน ทำให้เกิดการหดรัดตัวของมดลูก
:red_flag:Postaglan Theory
:pencil2:การหดรัดตัวของมดลูกเกิดจากการทำงานร่วมกันระหว่างต่อมหมวกไตของทารกกับมดลูก สร้าง prostaglandin ออกมา ส่งผลให้มีการหดรัดตัวของมดลูกและมีอาการเจ็บครรภ์
:star:กลไกการคลอด
:explode:2. Descent การที่ศีรษะเคลื่อนต่ำลงตามช่องทางคลอด
:explode:3. Flexion การก้มของศีรษะทารกจนคางชิดอก
:explode:1. Engagement การเคลื่อนเขาสู่อุ้งเชิงกรานของศีรษะ
:explode:4. Internal rotation การหมุนของส่วนศีรษะทารก ทีเกิดขึ้นภายในช่องเชิงกราน
:explode:7. External rotation การหมุนของศีรษะต่ออีก 45 องศา
:explode:5. Extension การที่ศีรษะทารกเงยหน้าผ่านพ้น ช่องคลอดออกมาภายนอก
:explode:8. Expulsion คือการขับเคลื่อนเอาตัวทารกออกมาทั้งหมด
:explode:6. Restitution การหมุนกลับของศีรษะทารกภายนอกช่องคลอด 45 องศา
:star:องค์ประกอบของการคลอด 5P
:recycle:2.passenger
:recycle: รก
:recycle:ตัวทารก
:recycle:น้ำคร่ำ
:recycle:3.passageway)
:recycle:soft passage
:recycle:bony passage/hard part
:recycle:1.powers
:recycle:1.1.Uterine Contraction
:recycle:1.2.แรงเบ่งของผู็คลอด
:recycle:4.psychy
:recycle:5.position
:star:การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของระบบต่างๆ
:check:ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
:pen:GFR เพิ่มขึ้น
:pen:Renal plasma flow เพิ่มขึ้น 30 %
:pen:เกิด HYDRONEPHROSIS และ HYDROURETER ได้จากหลอดไตทั้งสอง ถูกกดและการบีบรูดน้อยลง
:pen:ส่วนนำกดกระเพาะปัววาวะทำให้เลือดและน้ำเหลืองคั่งมากฐานกระเพาะปัสสาวะบวมช้ำติดเชื้อง่าย
:check:ระบบหัวใจและหลอดเลือด
:fire:2.อัตราการเต้นของหัวใจ (Heart Rate) เพิ่มขึ้น: ช่วงแรกเพิ่ม10-20 ครั้งต่อนาที ในช่วงท้ายของการตั้งครรภ์จะเพิ่มขึ้นถึง ร้อยละ 20 จากค่าปกติ และจะกลับมาสู่ค่าปกติภายใน 10 วันหลังคลอด
:fire:3.ความดันโลหิตลดลงจาก TPVR ลดลง
:fire:1.ปริมาตรเลือด (Blood volume) เพิ่มขึ้น: ปริมาตรเลือดจะเพิ่ม 45-50% โดยมีการเพิ่มของพลาสมา 50% เม็ดเลือดแดงเพิ่ม 20-35 %ทำให้เกิด เกิดภาวะ physiologic anemia
:fire:4.ตำแหน่ง Apex ของหัวใจมีการเปลี่ยนแปลง: เกิดจากขนาดมดลูกที่โตขึ้น ดัน diaphragm ขึ้น
หัวใจถูกดันไปด้านซ้ายและสูงกว่าปกติ Apex จะมาอยู่ด้านข้างมากขึ้น และสามารถพบ Apical systolic murmur, Pulmonic murmurได้
:fire:5.ขนาดของหัวใจโตขึ้น
:fire:6.EKG พบ Lt. axis deviation เล็กน้อย จากหัวใจถูกดันออก
:fire:7.S1 อาจดังขึ้น และมี splitting, S3 ได้ยินชัดเจนขึ้น
:fire:เซลล์เม็ดเลือดขาว (White Blood Cell: WBC) เพิ่มขึ้นจาก 5,000 -12,000 เป็น 20,000 cells/μl ในไตรมาสสาม และอาจสูงถึง 25,000
:check:ระบบทางเดินอาหาร
:forbidden:การบีบรูด และการดูดซึมของ
ระบบทางเดินอาหารลดลง
:forbidden:Heartburn หรือ Pyrosis = อาการเรอเปรี้ยว เกิดจากการขย้อนของกรดในกระเพาะอาหารขึ้นมาที่ส่วนล่างของหลอดอาหาร
:forbidden:ไส้ติ่งถูกดันขึ้นไปอยู่ในต าแหน่ง
สูงกว่าเดิม อาจไปอยู่สีข้างด้านขวา
:check:สมดุลน้ำและอิเลคโตรไลท์
:!!: BT สูงขึ้น
ขับเหงื่อมากขึ้น และหายใจถี่ขึ้น ขาดน้ำได้ง่าย
นางสาวลัดดาภรณ์ ชินทอง 635060037-4