Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 6 กระบวนทัศน์ในการ ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร - Coggle Diagram
หน่วยที่ 6 กระบวนทัศน์ในการ
ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
6.1การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ในการส่งเสริมฯ
ความหมาย
และการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ฯ
ความหมายกระบวนทัศน์
ทัศนะพื้นฐาน
กำหนดความคิดและการปฏิบัติ
ทัศนะเปลี่ยน
ความคิดเปลี่ยน
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ฯ
กระบวนทัศน์เก่า
มองโลกแบบแยกย่อย
เชื่อการแข่งขันหากำไร
เชื่อเรื่องการเป็นศูนย์กลางธรรมชาติ
เชื่อเรื่องจักรวรรดินิยม
เชื่อเรื่องการรวมอำนาจ
เชื่อเรื่องผู่ชายเป็นใหญ่
กระบวนทัศน์ใหม่
มองโลกแบบองค์รวม
เชื่อเรื่องการร่วมมือ
เชื่อเรื่องการผสานกับธรรมชาติ
เชื่อเรื่องความเท่าเทียม
เชื่อเรื่องกระจายอำนาจ
เชื่อเรื่องความเสมอภาคทางเพศ
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์
ในงานพัฒนา
รู้รักสามัคคี
บูรณาการ
ประชาชนและชุมชนเป็นแกนหลัก
องค์กรชุมชนและการศึกษาเรียนรู้ของชุมชน
การเรียนรู้จากการปฏิบัติร่วมกัน
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์
ในการบริหารงานส่งเสริม
กรบวนทัศน์เก่า
มองเจ้าหน้าที่เป็น ทรัพยากร
ใช้เจ้าหน้าที่ในรูป ปัจเจกบุคคล
จัดองค์กรในรูปแนวตั้ง
มุ่งเน้นถายในมองที่ นาย
องค์การจัดตาม สายงาน
ใช้ IT เพื่อช่วย คุม เจ้าหน้าที่
ประเมินผลเจ้าหน้าที่ เพื่อวัดผลงาน
ถือ ประสิทธิภาพ เป็นหลัก
กระบวนทัศน์ใหม่
มองเจ้าหน้าที่เป็น คน
ใช้เจ้าหน้าที่ในรูป ทีมงาน
จัดองค์กรในรูปแนวนอน
มุ่งเน้นถายในมองที่ เกษตรกร
องค์การจัดตาม กระบวนการทำงาน
ใช้ IT เพื่อช่วย สนับสนุน เจ้าหน้าที่
ประเมินผลเจ้าหน้าที่ เพื่อพัฒนา
ถือ ประสิทธิผล เป็นหลัก
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์
ในการส่งเสริมฯ
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์และการพัผฒนาประเทศในแต่ละยุคสมัย
ปรับเปลี่ยนตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2504- ปัจจุบัน)
ยุคก่อนจัดระบบงานส่งเสริม (ก่อน พ.ศ.2510)
ยุคพัฒนางานส่งเสริมฯ ระยะที่ 1 (พ.ศ2510-2519)
ยุคพัฒนางานส่งเสริมฯ ระยะที่ 2 (พ.ศ250-2529)
ยุคพัฒนางานส่งเสริมฯ ระยะที่ 3 (พ.ศ2530-2534)
ยุคพัฒนางานส่งเสริมฯ ระยะที่ 4 (พ.ศ2535-2539)
ยุคพัฒนางานส่งเสริมฯ ระยะที่ 5 (พ.ศ2540-2554)
ยุคพัฒนางานส่งเสริมฯ ระยะที่ 6 (พ.ศ2555-2560)
ปัญหาภาคการเกษตรในด้านต่างๆ
การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขัน
การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
การพัฒนาเกษตรกรและองค์กรเกษตรกร
การพัฒนาการบริหารงานการส่งเสริมการเกษตร
6.2 ปัจัย ทิศทาง การส่งเสริมฯ
ปัจจัยที่มีผลต่อการส่งเสริมฯ
ปัจจัยภายในประเทศ
สถานการณ์แนวโน้มเศรษฐกิจไทย
สถานการณ์แนวโน้มของสังคมไทย
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การเจริญเติบโตของภาคการเมือง
และพื้นที่เศรษฐกิจ
ความมั้่นคงภายในประเทศ
ความร่วมมือระหว่างประเทศ
การบริหารจัดการภาครัฐ
ความอ่อนแอของสังคมไทย
ปัจจัยภายนอกประเทศ
สถานการณ์แนวโน้มเศรษฐกิจไทย
การวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์
สถานการณ์และแนวโน้มสังคมโลก
สถานการณ์สังคมโลก
ทางเลือกของการพัฒนาประเทศ
การพัฒนาโดยอาศัยกระแสโลกกับ
ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจไทยให้พึ่งตนเองได้
การวางประเทศเป็นแกนกลาง
เชื่อมประเทศในอนุภูมิภาค
ทิศทางการส่งเสริมฯ
ข้อพิจารณา
การพัฒนาคุณภาพชีวิต
และคุณค่าวัฒนธรรม
การสร้างเครือข่ายชุมชนที่เข้มแข็ง
การพัฒนาสมรรถเศรษฐกิจ
และความสามารถแข่งขัน
การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติฯ
การปรับระบบบริหารงานส่งเสริมฯ
ทิศทางการพัฒนาประเทศ
จุดมุ่งหมายหลักการพัฒนาประเทศ
แนวคิดปรัชญาหลักของแนว
ทางการวางแผนประเทศ
สังคมไทยที่ปรารถนา
ทิศทางการพัฒนาที่สำคัญ
ทิศทางการพัฒนาการเกษตรในภาพรวม
พัฒนาสถาบันเกษตรกร
พัฒนาการผลิตสินค้าเกษตร
พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม
การจัดการทรัพยากร
อย่างสมดุลและยั่งยืน
ทิศทางการพัฒนาชุมชนเกษตร
การทำเกษตรยั่งยืน
การจัดการทรัพยากรฯ
กองทุนและสวัสดิการชุมชน
ธุรกิจชุมชน
อุตสาหกรรมชุมชน
การจัดการด้านสุขภาพชุมชน
การเรียนรู้ของชุมชน
ทิศทางการพัฒนาการส่งเสริมฯ
การสร้างควเข้มแข็งภาคเกษตรและความมั่นคงทางอาหารและพลังงาน
การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การเติบโตอย่างมีคุณภาพและยังยืน
ยุทธศาสตร์และแนวทางการส่งเสริมฯ
แนวคิดเชิงยุทธศาสตร์การส่งเสริม
การพัฒนาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การสร้างเบญจภาคีและพัฒนา
เบญจขันธ์ของชุมชนเกษตรกรรม
การพัฒนาแบบบูรณาการและ
มีส่วนร่วมของเกษตรกร
การพัฒนาเพื่อพึ่งตนเองของชุมชนเกษตรกรรมในมิติต่างๆ
การเสริมสร้างศักยภาพการพึ่งตนเองของชุมชนเกษตรกรรมในมิติต่างๆ
การกำหนดยุทธศาสตร์และแนวทาง
การส่งเสริมฯ
สถานการณ์เปลี่ยนแปลงในระดับโลก
สถานการณ์ภายในประเทศ
วิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ
ยุทธศาสตร์การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
1 พัฒนาทรัพยากรบุคคลและความเข้มแข็งขององค์กรเกษตรกร
2 การพัผผมนาและคุ้มครองทรัพยากรทางการเกษตรและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน
3 การบรหารจัดการสินค้าตลอดห่วงโซ่อุปทาน
4 การแก้ไขปัญหาหนี้สินภาคเกษตร
5 การพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้วนเทคโนโลยีและนวัตกรรม
6 การใช้สื่อเพิ่มประสิทธิภาพการส่งเสริมการเกษตร
7 การพัฒนางานบริหารองค์กรส่งเสริมการเกษตร
8 การบูรณาการสร้างกลไกในงานส่งเสริมการเกษตร
วิสัยทัศน์
สู่ความมั่นคง มั่งคั่ง ยังยืน
ภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
แนวทางการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ด้านการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาตฯ
ด้านการจัดระบบพื้นที่การผลิตให้สอดคลอดกับพื้นที่และตลาด
ด้านส่งเสริมการรวมกลุ่มผลิต
ด้านการสร้างโอกาสเข้าถึงเทคโนโลยีและนวัตกรรม
ด้านการเพิ่มมูลค่าผลผลิตการเกษตร
ด้านการเร่งพัฒนาเกษตรอินทรีย์
เ้านการเร่งขยายทำเกษตรตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
ด้ารการสนับสนุนทำแผนแม่บทภาคเกษ๖รให้มีความยั่งยืน
ด้านการบุคลากรภาคการเกษตร