Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่5บุคลิกภาพ - Coggle Diagram
บทที่5บุคลิกภาพ
5.1ความหมายของและองค์ประกอบของบุคลิกภาพ
5.1.1ความหมายของบุคลิกภาพ
5.1.2องค์ประกองบุคลิกภาพ
5.1.3จุดมุ่งหมายในการศึกษาบุคลิกภาพ
5.2ปัจจัยชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับบุคลิกภาพ
5.2.2ประเภทรูปร่าง
5.3ปัจจัยทางจิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับบุคลิกภาพ
5.3.1 ประสิทธิ์สวาสดิ์ญาติ (2547: 51-56) กล่าวว่าบุคลิกภาพถูกกำหนดโดยสถานการณ์ทางสังคมหรือสภาพแวดล้อมทางสังคมรวมทั้งวัฒนธรรมด้วยและมีลักษณะเป็นรูปลักษณ์ทางวัฒนธรรม (configuration) ดังเช่นแนวคิดของ Ruth Benedict เชื่อว่ารูปลักษณ์ของวัฒนธรรมที่แต่ละสังคมมีอยู่อาจจะมีหลายแบบอย่าง (pattern) แต่ที่เป็นหลักหรือแบบที่คนส่วนใหญ่ยึดถือจะมีอยู่จำนวนหนึ่งโดยอิทธิพลหรือการหล่อหลอมของแบบอย่างดังกล่าวจะทำให้สมาชิกส่วนใหญ่ในสังคมมีบุคลิกภาพแบบปกติ (normal personality type) สำหรับสมาชิกส่วนน้อยที่ไม่ได้ยึดถือแบบอย่างหลักของสังคมอาจจะมีแบบอย่างอื่นที่พวกเขายึดถือ
5.3.2แนวคิดโครงสร้างบุคลิกภาพพื้นฐาน
5.3.3กระบวนการขัดเกลาทางสังคม
5.3.4สติปัญญาและความสามารถอื่นๆ
5.3.5เจคตติทางสังคม
5.3.6ความต้องการ
5.3.7อารมณ์
5.3.8ความสนใจ
1 more item...
5.4แนวทัศน์เกี่ยวข้องกับบุคลิกภาพ
5.4.1แนวทัศน์ที่เกี่ยวกับบุคลิกภาพ
1ทฤษฎีวิเคราห์องค์ประกอบ
2ทฤษฎีลักษณะนิสัยของAllport
3ทฤษฎีลักษณะนิสัยของEysenck
4ทฤษฎีลักษณะนิสัย5ด้าน
5.4.2แนวทัศน์จิตวิเคราะห์
1ทฤษฎีจิตวิเคราะห์
2โครงสร้างบุคลิกภาพ
3พัฒนาการทางเพศ
5.4.3แนวทัศน์มนุษย์นิยม
1ทฤษฎีอัตมโนทัศฯ์ของrogers
5.4.4แนวทัศน์ทางสังคม-การคิด
แนวทัศน์นี้จะบูรณาการแนวทัศน์ระหว่างแนวทัศน์ทางด้านพฤติกรรมนิยม behavioral perspectives) และแนวทัศน์ทางด้านการคิด (Cognitive perspectives) ไว้ด้วยกันเพื่อมุ่งอธิบายบุคลิกภาพที่กำหนดปฏิสัมพันธ์การคิดของมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมทางสังคมที่ก่อให้เกิดประสบการณ์การเรียนรู้ให้ความสำคัญต่อการเรียนรู้ความคาดหวังและกระบวนการข้อมูล (information processing) เป็นศูนย์กลางของบุคลิกภาพพฤติกรรมที่เกิดขึ้นมีองค์ประกอบหลายเงื่อนไขกล่าวคือบุคคลต้องมีการเข้ารหัสต่อสถานการณ์ที่สัมพันธ์กัน
5.4.5 แนวทัศน์ชีววิทยา
1สมอง
2สารเคมีประสาท
3พันธุศาสตร์
5.5บุคลิกภาพกับการทำนายพฤติกรรมมนุษย์
5.5.1 ประเมินบุคลิกภาพโดยทั่วไปอาทิสังเกตแยกแยะลักษณะของคนร้ายหรือคนดีแนวโน้มการแสดงออกของบุคคลที่จะแสดงออกมา
5.5.2 นำข้อมูลมาใช้ประโยชน์ในวงการธุรกิจการศึกษาอุตสาหกรรมเพื่อการคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานหรือการเป็นนักศึกษา
5.5.3 ข้อมูลเกี่ยวกับบุคลิกภาพของบุคคลนำมาใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงในวงการแพทย์หรือเพื่อช่วยในการบำบัดรักษา
5.6บุคลิกภาพกับการทำนายพฤติกรรมมนุษย์
5.6.1การสังเกต
5.6.2การสัมภาษณ์
5.6.3การฉายภาพจิต
5.6.4แบบสำรวจการฉายภาพทางจิต
5.6.5การรายงานตนเอง
5.6.7มาตราส่วนประมาณค่า