Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างสัมพันธภาพ, นางสาวกนกวรรณ งามทับทิม เลขที่4 ชั้นปีที่ 2 รหัส…
การสร้างสัมพันธภาพ
หลักการสัมพันธภาพระหว่างบุคคล(Interpersonal Relationship Theory)
แฮรี่ สแตก ซัลลิแวน(Harry Stack Sullivan) ความสัมพันธระหว่างแม่ และเด็กเป็นจุดเริ่มต้น
ซัลลิแวน แบ่งระบบความเป็นตัวเองตามความคิด ออกเป็น 3ประเภท
1.ฉันดี(Good - Me) ความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง
2.ฉันไม่ดี(Bad-Me) ความรู้สึกที่ไม่ดีต่อตนเอง
3.ไม่ใช่ฉัน(Not-Me) การปฏิเสธตนเอง
พฤติกรรมของมนุษย์มีรากฐานจากความปรารถนาพื้นฐาน 2 ประการ
1.ความพึงพอใจ(Satisfaction):การสนองตอบความต้องพื้นฐาน เช่น ความหิว ความง่วง
2.ความมั่นคงทางใจ(Security):สภาวะที่มีความสุข สบาย จากการปฏิบัติตามกฎระเบียบสังคม
หลักการสร้างประกอบไปด้วย 4 ขั้นตอน
1.การรู้จักตนเองและผู้อื่น ความเข้าความต้องการ ยอมรับสภาพความเป็นจริง ยอมรับความแตกต่าง ระหว่างตนเองและผู้อื่น
2.มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี รู้จัก พูด ฟัง เรียนรู้ จังหวะที่เหมาะสม เปิดให้ผู้อื่แสดงความคิดเห็น เอาใจใส่และให้ความสำคัญ
3.การมองโลก ในความเป็นจริง ไม่ดีเกินไปจนถูกหลอก หรือมองในแง่ร้าย ใจแคบ ไม่รู้จักการให้อภัย
4.มีน้ำใจนักกีฬายอมรับผิดเมื่อรู้ว่าตนผิด ปฏิเสธในสิ่งที่ตนทำไม่ได้ รู้จักเสียสละ และอภัย การช่วยเหลือกัน
PEPLAU'S INTERPERSONAL RELATION THEORY แบ่งออกเป็น 4 ขั้นตอน
1.Orientation (ระยะเริ่มต้น)
2.Identification (ระยะระบุปัญหาและความต้องการบริการ)
3.Exploitation (ระยะการแก้ปัญหาและใช้ประโยชน์จากแหล่งช่วยเหลือ)
4.Resolution (ระยะปัญหาคลี่คลายและยุติสัมพันธภาพ)
ชนิดของสัมพันธภาพระหว่างบุคคล
แบ่งออก 2 รูปแบบ
1.สัมพันธภาพทางสังคม
1.1ไม่มีจุดมุ่งหมายเฉพาะในการช่วยเหลือ
1.2เป็นความพอใจทั้ง 2 ฝ่าย
1.3ไม่จำเป็นต้องมีการวางแผน และขั้นตอน
1.4สัมพันธภาพสิ้นสุดตามความพอใจของกันและกัน
2.สัมพันธภาพเชิงวิชาชีพ
1.มีจุดมุ่งหมายในการช่วยเหลือ
2.มีเหตุผลในความสัมพันธ์
3.มีกระบวนการดำเนินความสัมพันธภาพมีขั้นตอน การวางแผน
4.ใช้ความรู้ความชำนาญ
5.สิ้นสุดสัมพันธภาพไปตามแผนและกระบวนสร้าง
แนวทางการสร้างสัมพันธภาพที่ดี
1.การเปิดเผยตนเอง
2.การสร้างความไว้วางใจ(Trust) ความน่าไว้ใจ(Trustworthy)
3.การใส่ใจ(Attending)สนใจ ให้ความสำคัญ ให้เกียรติต่อคู่สนทนาและเข้าใจมุมมองผู้อื่น
การทำให้เกิดความสัมพันธภาพที่ดีระหว่างกัน
1.การเข้าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน(Contact)
2.การสร้างความคุ้นเคยให้เกิดขึ้น(Familarity)
3.การให้รางวัลพฤติกรรม(Reward)
4.การรู้สึกชอบหรือพอใจกัน(Liking)
การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด 4ขั้นตอน
1.ขั้นเตรียมการปฏิสัมพันธ์
2.ขั้นเริ่มต้นการสร้างสัมพันธภาพ
3.ขั้นดำเนินการแก้ปัญหา
4.ขั้นสิ้นสุดการสร้างสัมพันธภาพ
หลักการวิเคราะห์การสื่อสารระหว่างบุคคล (Transactional Analysis)
ประโยชน์
เข้าใจผู้อื่น ลดระดับความรู้สึกที่ไม่ดี
การสื่อสารมีประสิทธิภาพ
เข้าใจผู้ร่วมงานดีขึ้น
ก่อให้เกิดความพัฒนาตนเอง
Eric Berne แบ่งบุคลิกภาพในการติดต่อสัมพันธ์ซึ่งกันและกันออกเป็น 3 แบบ
1.บุคลิกภาพแบบพ่อแม่ (Parent) บุคลิกภาพแสดงตนบทบาทเสมือนพ่อแม่ แบ่ง2ลักษณะ
-Critical Parent (CP) พ่อแม่วิพากวิจารณ์ ชอบดุ สั่งสอน ตักเตือน บังคับ
-Natural Parent (NP) พ่อแม่ดูแลเอาใจใส่ ช่วยเหลือ ปลอบโยน ให้กำลังใจ เสียสละ
2.บุคลิกแบบเด็ก (Child) ความคิด อารมณ์ แสดงออกเหมือนเด็กๆ แบ่ง2ลักษณะ
-Natural Child (NC) ร่าเริง แจ่มใส สนุกสนาน อยากรู้อยากเห็น ขี้เล่น อย่างเป็นธรรมชาติ
-Adapted Child (AC) เด็กที่ปรับตัว ยังไม่เป็นตัวของตนเอง พึ่งพาผู้อื่น ตัดสินใจไม่ได้ ต้องการความช่วยเหลือ
3.บุคลิกแบบผู้ใหญ่ (Adult) มีเหตุผล รอบคอบ ไม่ใช่อารมณ์ในการตัดสินใจ อยู่ในความเป็นจริงหรือข้อเท็จจริง
เทคนิคการสร้างสัมพันธภาพกับบุคคล
การปรับบุคลิกภาพ
บุคลิกภายนอก
บุคลิกภายใน
องค์ประกอบ
สิ่งแวดล้อม
บรรยากาศ ความสว่าง สบาย เสียงรบกวน
การใช้หลักการพูด
1.การทักทาย(Greeting)
2.พูดคุยเรื่องธรรมดาทั่วไป(Small talk)
3.การพูดเพื่อเปิดประเด็นปัญหา(Opening)
ภาษาท่าทาง ให้ความสนใจต่อผู้ฟัง
ใช้หลัก SOLER
S=Squarely นั่งเป็นมุมฉาก
O=Open การแสดงท่าทางเปิดเผย
L=Lean การโน้มตัวเข้าหาผู้รับบริการ
E=Eye Contact การสบตา
R=Relax ท่านั่งที่ผ่อนคลาย
หลักการรู้จักและเข้าใจตนเอง/หลักการของโจ-แฮรี่ (Jo-hari)
โจเซฟ ลัฟท์(Josep Lult) และแฮรี่ อินเกม(Harry Ingham) ชาวอเมริกา เปรียบเทียบตนเอง 4 ส่วน
หลักการของโจ-แฮรี่(Jo-hari) ปรับรูปแบบ บริเวณเปิดเผยเพิ่มมากขึ้น คนอื่นรู้ด้วยตรงตามที่เป็น ปราศจาการปกปิด จริงใจ พยามให้จุดบอด อวิชชา ลดลง เพื่อให้ยอมรับมากขึ้น
นางสาวกนกวรรณ งามทับทิม เลขที่4 ชั้นปีที่ 2
รหัส 622801004