Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 11 การจัดการปัญหาเฉพาะที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน - Coggle Diagram
บทที่ 11
การจัดการปัญหาเฉพาะที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน
กรณีศึกษาที่ 1 ADHD ในชั้นเรียนระดับประถมศึกษา
อะไรคือสัญญาณบ่งบอกว่าผู้เรียนคนใดมีภาวะ ADHD
การขาดความตั้งใจ
มักไม่ฟังเมื่อมีคนมาพูดคุยด้วยโดยตรง
มักประสบปัญหาในการจดจ่อกับงาน
มักไม่ปฏิบัติตามคำสั่ง
มักทำสิ่งของที่จำเป็นในการทำงานหาย
มักหันเหความสนใจตามสิ่งเร้าจากภายนอก
มักหลงลืมเกี่ยวกับกิจกรรมที่ต้องทำประจำวัน
ความลุกลี้ลุกลน
มือและเท้าอยู่ไม่สุข
มักไม่นั่งอยู่ประจำที่ในชั้นเรียน
มักสร้างสถานการณ์ที่ไม่เหมาะสม
มักลนลานตลอดเวลา
มักพูดคุยไม่หยุด
ความหุนหัน
มักโพล่งตอบออกมาก่อนที่ฟังคำถามจบ
มักประสบปัญหาในการรอคอย
มักพูดแทรกผู้อื่น
ปัญหาทางด้านพฤติกรรมและการเรียนรู้ของผู้เรียนที่มีภาวะ ADHD
ร้อยละ 25 มีพฤติกรรมต่อต้านสังคม
อย่างน้อยร้อยละ 50 มีปัญหาเกี่ยวกับทักษะทางสังคม
ร้อยละ 30 มีความผิดปกติทางด้านความวิตกกังวล
ร้อยละ 33 มีความรู้สึกหดหู่
ร้อยละ 90 ไม่สามารถทำงานที่ได้รับมอบหมายได้
ร้อยละ 90 ไม่สามารถประสบความสำเร็จในการเรียน
ร้อยละ 20 ประสบปัญหาในการอ่าน
อะไรเป็นสาเหตุให้เกิด adhd
การปฏิสัมพันธ์ที่ซับซ้อนของปัจจัยเสี่ยงทางพันธุกรรม ชีววิทยา สิ่งแวดล้อม
การจัดการ ADHD
การศึกษาและเข้าใจใน ADHD
การจัดการทางพฤติกรรม
การจัดการศึกษาที่เหมาะสม
การบำบัดทางการแพทย์
ครูจะทำอะไรในชั้นเรียนได้บ้าง
กลยุทธ์ในการจัดการกับการไม่ตั้งใจ
ให้ผู้เรียนเอาใจใส่กับงานที่ทำ**
แบ่งงานที่ให้นักเรียนทำออกเป็นชิ้นย่อยๆ
ให้ผู้เรียนทำงานหรือข้อสอบแค่ครั้งละ 1 แผ่น
กลยุทธ์ในการจัดการกับการลุกลี้ลุกลน
ให้โอกาสผู้เรียนได้ปรับเปลี่ยนท่านั่ง
สร้างการเคลื่อนไหวในชั่วโมงเรียน
ให้ผู้เรียนได้ที่นั่ง 2 ที่เพื่อให้เขาได้มีที่นั่งไว้สับเปลี่ยนกัน
กลยุทธ์ในการจัดการกับการหุนหัน
เตรียมความพร้อมให้แก่นักเรียน
สนับสนุนพฤติกรรมในเชิงบวกของผู้เรียนด้วยการชมเชย
ตั้งกฎเกณฑ์ในการเข้าร่วมชั้นเรียน
อธิบายถึงผลลัพธ์ของการไม่ปฏิบัติตามกฎ
ครูควรทำอย่างไรหากสงสัยว่าผู้เรียนในชั้นเรียนของครูมีภาวะ ADHD
ปรึกษากับฝ่ายประสานงานด้านการเรียนรู้
ปรึกษากับผู้ปกครอง
ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ
ข้อสังเกตสำหรับการใช้การบำบัดทางการแพทย์
ครูจะต้องคอยสังเกตและสอดส่องดูแลผลลัพธ์
ครูจะต้องให้ข้อมูลที่สำคัญแก่จิตแพทย์
กรณีศึกษาที่ 2 ผู้เรียนที่มีพฤติกรรมไม่เชื่อฟังในชั้นเรียนระดับมัธยมศึกษา
ครูจะจัดการกับผู้เรียนที่ไม่เชื่อฟังอย่างไร
ใช้กลยุทธ์แบบตัวต่อตัว
ระบุถึงการสำคัญตนที่ผิด
วางแผนการสอนให้ตรงกับความสนใจของผู้เรียน
ช่วยให้พวกเขาประสบความสำเร็จ
ติดต่อผู้ปกครองของผู้เรียน
ความรู้สึกส่วนตัวของครู
ความเป็นห่วงอย่างแท้จริง
ความเอาใจใส่
ความเชื่อมั่นในควมสามารถที่จะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่ดีของนักเรียน
ความอดทนอดกลั้น
ความบากบั่นและไม่ย่อท้อ
การควบคุมตนเอง
อารมณ์ขัน