Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 บุคลิกภาพ (Personality), นางสาวอริสรา อินตา 6104101401 เซค 5 -…
บทที่ 5 บุคลิกภาพ (Personality)
การวางรูปแบบบุคลิกภาพ
1) ศักยภาพที่มีมาแต่กำเนิด สิ่งที่ติดตัวมาแต่เกิด เป็นพันธุกรรม
อารมณ์
รูปร่าง
สติปัญญา
2) สิ่งแวดล้อมและการเรียนรู้ การเรีนรรู้ การอบรมเลี้ยงดูของพ่อเเม่
ประสบการณ์ร่วม (Common Experiences) การได้รับประสบการณ์เหมือนๆกันอันเนื่องมาจากการเติบโตขึ้นมาในสังคมและวัฒนธรรมเดียวกัน
ประสบการณ์เฉพาะ (Unique Experiences) วิธีการของแต่ละคนในการตอบสนองต่อความต้องกดดันทางสังคม และประสบการณ์พิเศษที่เกิดขึ้นเฉพาะบุคคล
ทฤษฎีบุคคล
1) ทฤษฏีจิตวิเคราะห์ของฟรอยด์ (Psychoanalysis theory)
โครงสร้างของบุคลิกภาพ
(1) อิด (ID)
ทำงานตามกฎของความพึงพอใจ (Pleasure Principle)
การลดความเครียดของ Id – Mental Image (Hallucination) เพื่อWish Fulfillment
(2) อีโก้ (Ego)
ความจำเป็นของร่างกายที่ต้องปฏิบัติให้เหมาะสมกับโลกภายนอก
Ego จะพิจารณาโลกภายนอกและชะลอเวลาที่จะปลดปล่อยความเครียดจนกว่าจะพบสถานการณ์ที่เหมาะสม กล่าวได้ว่า Egoทำงานตามกฎของความเป็นจริง (Reality Principle)
(3) ซูเปอร์อีโก้ (Superego)
Superego คุณค่า ศีลธรรมของสังคมและอุดมคติระบบนี้ถูกพัฒนาขึ้นมาหลังสุด โดยเกิดจากการหล่อหลอมของพ่อแม่และสังคม
การให้รางวัล ก่อให้เกิด Ego-ideal การลงโทษก่อให้เกิด Conscience
3) ทฤษฏีจิตวิทยาปัจเจกบุคคลของอัลเฟรด แอดเลอร์ (Alfred Adler's Theory of Individual Psychology)
บุคลิกภาพของคนต่างกัน เพราะสิ่งแวดล้อมหรือสังคมต่างกัน
การพัฒนาบุคลิกภาพ คือ การพัฒนาแบบแผนการดำเนินชีวิตของแต่ละคน
ตัวกำหนดแบบแผนดำเนินชีวิตของแต่ละคน คือ ปมด้อยต่างๆ ที่มีแต่คนมีอยู่หรือคิดว่ามีอยู่
แบบแผนการดำเนินชีวิตของแต่ละคนเกิดจาก การที่แต่ละคนพยายามหาทางออกสร้างปมเด่นเพื่อชดเชย หรือปิดปมด้อย
ประสบการณ์ชีวิตในวัยเด็กเป็นตัวการสำคัญในการสร้างแบบแผนชีวิตของคน
4) ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของจุง (Jung's Analytical Theory)
ตัวตน
เป็นแกนกลางของบุคลิกภาพ ประสานทุกส่วนให้เข้ากันอย่างสมดุลทั้งเรื่องในอดีตและการพัฒนาศักยภาพของตนเองซึ่งต้องอาศัยความเข้าใจในตนเอง
ความเข้าใจตนเองมักเกิดในวัยกลางคนเนื่องจากเริ่มเปลี่ยนการรับรู้ตนเองมาเป็นความเข้าใจตนเองคนที่ยังไม่เกิดความเข้าใจในตนเองจะมีปัญหาต่างๆ กันไป
ระบบความสัมพันธ์ภายใน
ทัศนคติพื้นฐาน 2 ประการ ได้แก่
Extrovert ชอบสังคม ชอบอาชีพที่ต้องติดต่อกับบุคคลอื่นเมื่อเกิดความเครียดมีแนวโน้มที่จะปรึกษาเพื่อนไม่ชอบคิดคนเดียว
Introvert ขี้อายชอบทำงานคนเดียวมีแนวโน้มเก็บตัวโดยเฉพาะเวลาที่อารมณ์เครียดและเกิดความขัดแย้ง
การทำหน้าที่ของบุคลิกภาพ 4 ประการ คือ
การกำหนดรู้ซึ่งเกิดขึ้นในใจเอง (Intuition) เป็นการใช้ญาณหยั่งรู้ นึกรู้เอาเองสรุปขึ้นเอง
การรู้สึก (Feeling) เป็นการตัดสินให้คุณค่าของสิ่งต่างๆ โดยใช้อารมณ์ประเมิน ทำให้รู้สึกชอบไม่ชอบ ดีเลว ฯลฯ
การกำหนดรู้ทางประสาทสัมผัส (Sensation) เป็นการกำหนดรู้ทางประสาทสัมผัสตามความจริง เป็นรูปธรรม
การคิด (Thinking) เป็นการตีความและเข้าใจความหมายของสิ่งที่รับรู้โดยใช้ความคิด ความเข้าใจและสติปัญญา มีหลักการ
โครงสร้างของบุคลิกภาพ
อีโก้
จิตไร้สำนึกส่วนบุคคล
หน้ากาก
จิตไร้สำนึกที่สั่งสม
ลักษณะของความเป็นหญิง-ชาย
เงาในใจ
5) ทฤษฏีบุคลิกภาพมนุษยนิยม
มีความคิดสร้างสรรค์
แสดงน้ำใจอย่างเป็นธรรมชาติ
มีความคิดและอารมณ์ไม่ขึ้นกับผู้อื่น
ยอมรับตนเอง บุคคลอื่นตามสภาพความเป็นจริง
รับรู้สภาพความเป็นจริงได้อย่างถูกต้อง มีประสิทธิภาพ
2) ทฤษฏีตัวตนของโรเจอร์ส (Self Theory)
ตัวตนที่เป็นจริง (Real Self) ข้อเท็จจริงต่างๆของตนเอง
ตัวตนที่คิดว่าเป็น (Perceived Self) การรับรู้เกี่ยวกับตนเอง ตามที่เราคิดเอาการรับรู้อาจจะตรงหรือไม่ตรงกับความจริงก็ได้
ตัวตนที่อยากจะเป็น (Ideal Self) ความต้องการเกี่ยวกับเป้าหมายความใฝ่หาในอนาคตต่างๆ ลักษณะที่เราอยากเป็น
6) ทฤษฏีบุคลิกภาพตามแบบ (Type Theory)
เครชเมอร์ (Kretchmer)
2) Asthenic บุคคลที่ผอมสูงแขนขายาว มีแนวโน้มเป็นคนเก็บตัว ขี้อายเยือกเย็นคิดมากซึมและเฉื่อยชาเป็นลักษณะที่พบในผู้ป่วยโรคจิตเภท
3) Athletic บุคคลที่มีรูปร่างสมส่วนมีกล้ามเนื้อเยอะมีแนวโน้มเป็นคนมีพลัง ก้าวร้าว สดใส ร่าเริง
1) Pyknic บุคคลที่มีรูปร่างอ้วนเตี้ยแขนขาสั้นมีแนวโน้มเป็นคนที่ มีอารมณ์เปลี่ยนไปมาง่าย เป็นลักษณะที่พบในผู้ป่วย manic depressive
เชลดัน (Sheldon)
1) Endomorphs มีลักษณะอ้วน เตี้ย ท้องใหญ่ มีแนวโน้มเป็นคนชอบกิน ชอบสังคม ชอบพักผ่อน เฉื่อยชาพูดมาก และชอบชีวิตที่สบาย
2) Mesomorphs มีร่างกายสมส่วนแข็งแรงเต็มไปด้วยกล้ามเนื้อ มีแนวโน้มเป็นคนชอบการแข่งขัน มีพลัง ชอบแสดงออกออก กล้าหาญ ว่องไว
3) Ectomorphs มีร่างกายผอมสูง แขนขายาว หัวโต มีแนวโน้มเป็นคนเก็บตัว หักห้ามตัวเองได้ดี ชอบใช้สมองคิดมาก
7) ทฤษฎีลักษณะนิสัยของบุคลิกภาพ (Trait Theory)
ลักษณะนิสัยเฉพาะตัว (Personal Disposition Traits)
ลักษณะที่สำคัญ คือ ลักษณะเด่นของบุคคล กลายเป็น “บุคลิกภาพอ้างอิง” ได้ เช่น เปาบุ้นจิ้นคือซื่อสัตย์
ลักษณะนิสัยร่วม คือ ลักษณะนิสัย 5-10 แบบ ที่เป็นลักษณะนิสัยร่วม เช่น ความทะเยอทะยาน
ลักษณะนิสัยทุติยภูมิ คือ ลักษณะนิสัยที่แสดงออกทั่วไปปลีกย่อย เช่น ค่านิยม และความสนใจ
ลักษณะนิสัยร่วม (Common Traits)
ลักษณะบุคลิกภาพทั่วไปที่มนุษย์ทุกคนจะต้องมี แต่อาจมีปริมาณมากหรือน้อย
ฝ่ายอำนาจ – ยอมตาม, อ่อนไหว – เด็ดขาด, พึ่งตนเอง – พึ่งผู้อื่น, เบิกบาน – เศร้าซึม เป็นต้น
ลักษณะนิสัยของมนุษย์
ลักษณะนิสัยส่วนผิว (Surface Traits) ลักษณะพฤติกรรมที่สังเกตเห็นได้โดยตรง เช่น คนช่างเจรจา คนง่ายๆ ทำตัวตามสบาย
ลักษณะนิสัยที่ซ่อนเร้นอยู่ภายใน (Source Traits) ถือว่าเป็นองค์ประกอบหลักของบุคคลเป็นพื้นฐานของบุคลิกภาพ เพราะเป็นลักษณะที่มั่นคงและอยู่ “ลึก” ภายในตัวบุคคล เป็นตัวกำหนดพฤติกรรมที่หลากหลาย
การประเมินบุคลิกภาพ
1) Halo Effect การตัดสินบุคคลอื่นจากการที่เราชอบ/ไม่ชอบลักษณะเฉพาะอย่างของเขา
2) Stereotype การสรุปว่าบุคคลต้องมีนิสัยตามเอกลักษณ์ประจำกลุ่มซึ่งเกิดจากความเชื่อของคนส่วนมาก
วิธีประเมินบุคลิกภาพ
2) การสัมภาษณ์
3) แบบสำรวจบุคลิกภาพ (Personality Inventories) (ให้รายงานความรู้สึก/การกระทำของตนเอง)
ปัญหาของ Personality inventories คือ บุคคลไม่ตอบตามความจริง มีความล าเอียงในการตอบ
ตัวอย่างของ personality inventories
California Psychological Inventory (CPI)
Edwards Personal Preference Schedule (EPPS)
Minnesota Multiphasic Personality Inventory (MMPI)
1) การสังเกต
4) วิธีการฉายภาพจิต (Projective Techniques)
ปัญหาของ Projective อยู่ที่ความน่าเชื่อถือของการแปลผลเพราะการแปลผลขึ้นอยู่กับผู้แปลมากเกินไปและอาจมีความแตกต่างกันในผู้แปลหลายคน
การประเมินบุคลิกภาพควรจะใช้หลายๆวิธีร่วมกันเพื่อให้ได้ผลที่แม่นตรงมากขึ้น
การเสนอสิ่งเร้าที่คลุมเครือ แล้วให้บุคคลเล่า/ อธิบายภาพสิ่งเร้านั้นวิธีการหรือแบบวัดที่นิยมใช้กัน คือ
(1) Rorschach Test
(2) Thematic Apperception Test (TAT)
นางสาวอริสรา อินตา 6104101401 เซค 5