Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 แนวคิดทางด้านพฤติกรรม - Coggle Diagram
บทที่ 1 แนวคิดทางด้านพฤติกรรม
แนวทัศน์
กลุ่มวิเคราะห์
กลุ่มฟรอย์รุ่นใหม่
ทฤษฎีบุคลิกภาพ ปมด้อย แสวงหาปมด้อย
พฤติกรรมจากประสบการณ์วัยเด็ก จิตใต้สำนึก
บุคลิกภาพ
ซุปเปอร์อีโก้
มโนธรรม
การอบรม
อีโก้
กฎสังคม
หลักความจิต
อิด id
สัญชาตญาณแห่งชีวิต
สัญญาณแห่งการตาย
The mental iceberg
Unconscious
Sub conscious
Conscious
ศึกษา
การเชื่อมต่อโยงเสรี
สะกดจิต
สังเกตในคนปกติ
โดย ซิกมันด์ ฟรอย์
กลุ่มจิตวิทยาเกสตอลท์
โดย
Max Werthhrimer
Kurt Koffka
Wolfgang Kohler
Kurt Lewin
แนวคิดที่สำคัญ
ส่วนรวมมีความแตกต่างจากผลรวมของส่วนย่อย
การรับรู้เกิดจากการแปลอาการสัมผัสเป็นความหมาย
Insinht
ความคิดเกิดเมื่อแก้ปัญหาได้
สอนการแก้ปัญหา
เชื่อว่า
การแสดงขงบุคคล อาศัย
พฤติกรรมล่วงหน้า
เข้าใจ ความรู้ การหยั่งเห็น
กลุ่มโครงสร้างนิยม
โดย
วิลเฮล์ม แมกซ์ วุนด์ ชาวเยอรมัน เมืองไลป์ซิก ปี คใศ 1879
เชื่อว่า
มนุษย์ประกอบด้วย ร่างกาย และจิตใจ เป็นอิสระต่อกันแต่ทำงานสัมพันธ์กัน
เกิดจาก
การกระทำของร่างกาย
นึกคิดเกิดจากการกระทำของจิตใจ
จิตธาตุต่างๆมาผสมกัน
ศึกษา
จิตรู้สำนึก
องค์ประกอบของจิต
กลุ่มหน้าที่แห่งจิต
โดย
จอห์น คิวอี้
วิลเลียม เจอมส์
ศึกษา
ความเข้าใจจิตของคนว่าทำงานอย่างไร
วิธีการ คือ สังเกต และ บันทึก Beh
แนวคิดสำคัญ
การแสดงออกของคน เป็ฯการแสดงจิต เพื่อปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม
การแสดงออกทั้งหมดขึ้นกับประสบการณ์แต่ละบุคคล
กลุ่มพฤติกรรมนิยม
โดย
Ivan P.Pavlov
John B.Watson
B.F. Skinner
สาระสำคัญ
คนและสัตว์ไม่ต่างกัน
Beh เกิดจากการเรียนรู้มากกว่าธรรมชาติ
การวางเงื่อนไขเป็นสาเหตุการเปลี่ยนแปลง
ยอมรับเฉพาะระเบียบวิธีการเปลี่ยนแปลง
ศึกษา
Beh ที่มัการเคลื่อนไหวภายใน
Beh ที่มีการเคลี่ยนไหวภายใน
กลุ่มนุษย์นิยม
โดย
Carl R. Roger
Abraham H.Maslow
สาระสำคัญ
พยายาม
มุ่งสร้างความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์
รู้จัก เจ้าใจตนเอง
ยอมรับสรรควิสัย
มีสิทธิ
ตัดสินใจด้วยตนเอง
กำหนดความต้องการ
อิสระในการกระทำ
เลือกประสบการณ์
กลุ่มวิทยาศาสตร์ประสาท
โดย
Santigo Rariony Cajal
ศึกษา
ปัจจัยทางชีววิทยา ต่อพฤติกรรมและจิต
การวิเคราะห์สารเคมีในวมอง
การทดลอง
พฤติกรรม
เป็นผลจากการทำงานสารเคมีทางชีววิทยา
เป็นลักษณะของกิจกรรมสมอง+ระบบประสาท
กลุ่มสังคมวัฒธรรม
โดย
Hary Triandis
วัฒนธรรม
มีอิธิพลต่อ ฤติกรรม ความรู้สึก การจำแนก การเรียนรู้ การคิด
มีความสำคัญต่อ การเข้าใจพฤติกรรม ความคิด และ อารมณ์ของมนุษย์
เป็นแบบผน
ความเชื่อ
การดำเนินชีวิต,ค่ายิยม
พฤติกรรมบุคคล
การแต่งกาย,ดรตรี,สินค้าพื้นเมือง
กลุ่มจิตวิทยาความเป็นหญิง
โดย
Margaret Washburn
Christine Ladd-FranKlin
Mary Calkins
ประยุกต์ใช้ในการ
ความแตกต่างระหว่างบทบาททางเพศ
กระตุ้นการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับพื้นฐานบาบาททางเพศ
วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของบทบาททางเพศ
กลุ่มวิวัฒนาการ
โดย
David Buss
เน้น
การปรับตัว ,การเลือกสรรค์ของธรรมชาติ
การดำรงอยู่ตามเผ่าพันธ์,วิวัฒนาการของพฤติกรรม
กระบวนการทำงานของจิต
การประยุกต์จิตวิทยากับพฤติกรรม
เช่น
ทางด้านจิตสรีระ
ทางด้านคลินิก
ด้านการให้คำปรึกษา
ด้านการพัฒนา
ด้านการทดลอง
การสังคม
ความสัมพันธ์
จิตวิทยา
รวามความหมาย 2 นัย
พฤติกรรมภายนอก
การทำงานทางจิตของปัจเจกบุคคล
สังคมศาสตร์
เกี่ยวข้องกับมนุษย์และสังคม
ประกอบด้วยศาสตร์
หลักสูตร
การวิจัย
ตำรา
วารสารวิชาการ
จิตวิทยา
สังคมวิทยา
มนุษย์วิทยา
เศรษฐศาสตร์
ภูมิศาสตร์
ธรรมชาติพฤติกรรม
พันธุกรรมแลัสิ่งแวดล้อม
พันธุกรรม
nature
environment
สิ่งแวดล้อม
nurture
heredity
จิตรู้สำนึกและไร้สำนึก
พฤติกรรมมนุษย์สามารถสังเกตุได้ และมีกระบวนการทำงานทางจิตภายใจ
พฤติกรรมมนุษย์อิสระและถูกกำหนดควบคุมพฤติกรรมในการแสดงออก
พฤติกรรมมีความแตกต่างระหว่างบุคคลและมีหลักแห่งพฤติกรรมสากล