Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดการปัญหาเฉพาะที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน - Coggle Diagram
การจัดการปัญหาเฉพาะที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน
Attentio Deficit Hyperactivity Disorder ( ADHD )
โรคสมาธิสั้น เป็นปัญหาทางพฤติกรรมที่พบได้บ่อยในเด็กวัยเรียนและเป็นสาเหตุอันดับหนึ่งที่ทำให้เด็กมีปัญหาการเรียน เกิดจากความบกพร่องในการทำหน้าที่ของสมอง มีอาการหลักเป็นความผิดปกติทางด้านพฤติกรรมได้แก่ ขาดสมาธิ ซนอยู่ไม่นิ่ง หุนหันพลันแล่น ขาดการยับยั้งชั่งใจ ที่เป็นมากกว่าพฤติกรรมตามปกติของ เด็กในระดับพัฒนาการเดียวกัน
สัญญานบ่งบอกว่าผู้เรียนคนใดมีภาวะ ADHD
อาการขาดสมาธิ(Inattention) เช่น
ไม่สามารถทา งานที่สั่งจนเสร็จ มักค้างงานไว้เสมอ
ไม่มีสมาธิในการทา งาน หรือการเล่น
ไม่ค่อยฟังเวลาที่คนอื่นพดู
วอกแวกง่าย เบื่อง่าย
ไม่ค่อยเป็นระเบียบ
มีปัญหาหรือพยายามหลีกเลี่ยงงานที่ต้องใช้สมาธิ
ข้ีลืมเป็นประจา
ทำของใชส่วนตัวหรือของใช้ที่จำเป็นหายบ่อยๆ
ไม่สามารถต้้งใจฟัง และเก็บรายละเอียดได้ทำให้ทำงานผิดพลาด
ซุกซนไม่อยู่นิ่ง (Hyperactivity) เช่น*
นั่งไม่ติดที่ลุกเดินอยู่บู่อย ขณะอยู่ในหอ้งเรียน
ซนอยู่ไม่นิ่งถ้าให้นั่งอยู่กับที่จะยุกยิกอยู่ไม่สุข
ชอบวิ่งหรือปีนป่าย กระโดด เล่นโลดโผน
อาการหุนหันพลันแล่น (Impulsiveness) เช่น
ชอบพดูโพล่งโดยที่ยงัฟังคำถามไม่จบ
รอคอยไม่เป็น ใจร้อนหรือถา้รอไดก้็จะมีลกัษณะหงุดหงิดถามซ้าซาก
ครูจะทำอะไรในชั้นเรียน
การจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม
“สภาพแวดลอ้ มแบบใดที่จะช่วยใหเ้ด็กเกิดการเรียนรู้ได้ดีที่สุด”
จัดสภาพแวดล้อมทเี่หมาะต่อการเรียนรู้
สภาพแวดล้อมที่มีระเบียบมีความแน่นอนเดาได้ว่าจะเกิดอะไรข้ึ้น้ไม่กา หนดเวลาที่ชดัเจนวา่ ตอ้งทำอะไรหรือเมื่อไรน้นัจะทำให้เด็กสับสนและการเรียนรู้จะชะงักหรือเป็นไปได้ช้า
การจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียน
ภาวะสิ่งเร้ามากเกินไป (stimulus overload)
การจัดสิ่งเร้าที่พอเหมาะ
การสร้างระเบียบในการเรียนรู้
ครูช่วยทำอย่างไรเมื่อส่งสัยว่าผู้เรียนมีสภาวะ ADHD
ด้านการเรียน
ครูควรช่วยจัดระบบการเรียนการสอนไม่ให้ซับซ้อน ตารางเรียนแน่นอน หากมีการเปลี่ยนแปลงต้องแจ้งให้ทราบและเตือนความจำทุกครั้ง และจัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับเด็ก เด็กในชั้นเรียนไม่ควรเกิน 20 คน จัดทำกฎระเบียบที่ชัดเจน และทบทวนข้อตกลงบ่อยๆ หลีกเลี่ยงการตกแต่งห้องเรียนด้วยสีสันสดใส เนื่องจากทำให้เด็กสนใจสิ่งเร้านั้นมากกว่าสิ่งที่ครูสอน มอบหมายงานอย่างชัดเจน และไม่ควรใช้วาจาตำหนิ หรือ ทำโทษ ประจานเด็กต่อหน้าเด็กคนอื่น เมื่อเด็กทำความผิด ใช้วิธีการตัดคะแนน ลดเวลาพัก ทำความสะอาดห้อง ให้แรงเสริมทางบวก กล่าวชมเชยเมื่อเด็กทำดี ส่งงานตรงตามกำหนด เพื่อช่วยให้เด็กสมาธิสั้นประสบความสำเร็จในการเรียนตามศักยภาพ เกิดความภาคภูมิใจในตนเอง
ด้านสังคม
สอนให้เรียนรู้ทักษะทางสังคมที่จำเป็นต่อการปรับตัวอยู่ร่วมกับผู้อื่นของเด็กสมาธิสั้น ช่วยให้เด็กสมาธิสั้นมีเพื่อน โดยการสังเกต เพื่อค้นหาปัญหาในการเข้าสังคมกับเพื่อน หากิจกรรมกลุ่มให้ทำร่วมกันเกิดการเรียนรู้การอยู่ร่วมกับเพื่อน โดยกิจกรรมนั้นต้องมีขั้นตอนที่ชัดเจน โดยมีครูคอยควบคุม รวมถึงจัดเพื่อนช่วยดูแลเด็กสมาธิสั้นโดยต้องเป็นเด็กที่เข้าใจกัน คอยเตือนความจำ สอนการบ้าน ช่วยชี้แนะสิ่งที่ถูก
ข้อสังเกตสำหรับการใช้การบำบัดทางการแพทย์
การรักษาโรคสมาธิสั้นต้องอาศัยการรักษาแบบผสมผสานทั้งการปรับพฤติกรรมและการใช้ยา ร่วมกัน(multimodal management) และต้องอาศัยความร่วมมือกันจากหลายฝ่าย ทั้ง พ่อแม่ ครู หมอ โดยประกอบด้วยการให้ความรู้และคำแนะนำวิธีการช่วยเหลือแก่ผู้ปกครองและผู้ป่วย การประสานงานกับครูเพื่อให้มีการช่วยเหลือที่โรงเรียน การใช้ยา และการรักษาภาวะที่พบร่วมรวมทั้งแก้ไขผลกระทบของโรคสมาธิสั้นที่เกิดขึ้น