Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Congestive heart failure - Coggle Diagram
Congestive heart failure
หัวใจห้องล่างขวาวาย
อาการและอาการแสดง
ตับ ม้ามโตและปวดแน่นท้องหรือเจ็บแปลบที่ท้องด้านขวาส่วนบน จากการที่มีเลือดคั่งที่ตับ มีอาการเบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน ท้องอืด
-
บวมที่ขาทั้ง 2 ข้างกดบุ๋ม มือบวม นิ้วบวม ก้นกบบวม อวัยวะเพศบวม น้ำหนักตัวเพิ่ม การบวมทั้งตัวอาจมีได้ในระยะสุดท้ายของหัวใจวาย
-
กล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างขวาทำหน้าที่ลดลง ไม่สามารถบีบเลือดไปที่ปอดได้ ทำให้มีเลือดคั่งอยู่ในระบบไหลเวียน ส่งผลให้เลือดดำคั่งในอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายและมีอาการบวมที่แขนขา และท้อง
ผู้ป่วยที่หัวใจห้องล่างขวาวายมักมีหลอดเลือดที่คอโป่ง (JVD) จากการที่เลือดที่ไปเลี้ยงสมองและศีรษะไม่สามารถไหลกลับสู่หัวใจห้องบนขวาได้ น้ำหนักขึ้นจากการที่มีน้ำคั่งในร่างกาย ปัสสาวะบ่อยตอนกลางคืน
หัวใจห้องล่างซ้ายวาย
พยาธิสภาพ
กล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างซ้าย ไม่สามารถบีบเลือดที่มีออกซิเจน น้ำตาลและสารอาหารต่าง ๆ ไปเลี้ยงร่างกายได้ ทำให้มีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย และชีพจรเบาลง
อาการเหนื่อยง่ายจากหัวใจห้องล่างซ้ายวาย เกิดจากการที่มีแรงต้านทานระหว่างหัวใจห้องบนซ้ายกับปอดและเนื้อเยื่อบริเวณโดยรอบในปอด ทำให้เกิดภาวะน้ำคั่งในปอด ทำให้หายใจลำบาก มีเสียง Crepitation ในปอด
-
-
การวินิจฉัยโรค
การตรวจร่างกาย
ความดันโลหิตสูง ดูการหายใจ หายใจเร็วขึ้น ชีพจรเต้นเร็ว เหงื่อออกตัวเย็นคลำ เช่น คลำม้าม คลำตับ คลำพบม้ามโต ตับโตกดเจ็บ, บวมส่วนปลาย ฟังเสียงหัวใจได้ยินเสียงฟู่
-
การซักประวัติ
โรคประจำตัว, อายุ , ลักษณะของการเจ็บหน้าอก ลักษณะอาการแสดง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-
BUN, Cr และCrCl เพื่อดูการทำงานของไต
-
-
-
-
การรักษา
ให้ยาเพิ่มประสิทธิภาพการบีบตัวของหัวใจ ได้แก่ Dopamine, โดบูทามีน, Amrinone
-
ดูแลให้ยาเพื่อลด Preload และ afterload ของหัวใจ ได้แก่ ยากลุ่ม Digitalis, ยากลุ่มเบต้าบล็อคเกอร์, ACEI, ยาขับปัสสาวะ(Diuretic)
การปรับพฤติกรรม ได้แก่ การจำกัดน้ำ จำกัดเกลือ ควบคุมอาหาร ออกกำลังกาย ควบคุมน้ำหนัก และจำกัดแอลกอฮอล์
-
บำบัดด้วยเครื่องมือ เช่น ใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจ ฯลฯ การผ่าตัด หัวใจรักษาที่สาเหตุ เช่น Coronary artery bypass, heart transplant
-
สาเหตุ
-
โรคร่วมเรื้อรังอื่น ๆ เช่น MI, HT, DM, COPD ฯลฯ
-
-
กรณีศึกษา มีโรค DM, HT, DLP,CKD stage 4, Anemia
มีประวัติการรักษา
โรคหลอดเลือดหัวใจ ด้วยการสวนหัวใจทำบอลลูนหัวใจ
พยาธิสภาพ
- กล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างอ่อนแรงท าให้ไม่สามารถรับเลือดจากร่างกายเข้าสู่หัวใจและบีบเลือดไปเลี้ยงร่างกายได้เพียงพอ
- มีความผิดปกติทำให้เกิดการเพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจ ทำให้เวลาในการรับเลือดน้อยลง (Filling time)
-
-
- การเพิ่มแรงบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ
- การคั่งของน้ำและเกลือในร่างกาย
- ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขยายโตขึ้น โดยเฉพาะห้องหัวใจล่างซ้าย (LVH) มักมีกล้ามเนื้อหนา และแข็ง