Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 11 การจัดการปัญหาเฉพาะที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน - Coggle Diagram
บทที่ 11 การจัดการปัญหาเฉพาะที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน
ครูจะทำอะไรในชั้นเรียนได้บ้าง
กลยุทย์ในการจัดการกับการลุกลี้ลุกลน
สร้างการเคลื่อนไหวและปฎิสัมพันธ์ในชั่วโมงเรียน
ให้มีที่นั่งได้ 2 ที่ เพื่อได้สับเปลี่ยน
ให้นักเรียนได้ยืดเส้นยืดสายได้
กลยุทย์ในการจัดการกับการหุนหัน
สนับสนุนพฤติกรรมเชิงบวกด้วยการชม
ตั้งกฏเกณฑ์และอธิบายถึงผลลัพท์ของการไม่ปฎิบัติตาม
เตรียมความพร้อม
กลยุทย์ในการจัดการกับการไม่ตั้งใจ
ใช้วืธีให้เพื่อนเป็นบัดดี้
มอบหมายงานครั้งละ 1 แผ่น
จัดโตีะนั่งหน้าชั้นเรียนใกล้กับครู
บทสรุป
บทนี้ มีกรณีที่มาแสดง 2 ปัญหา
กรณีแรก ปัญหาเกี่ยวกับ ADHD
กรณีที่ 2 ปัญหาทางด้านพฤติกรรมที่ไม่เชื่อฟัง
ซึ่งทั้งสองปัญหาเป็นความท้าทายอย่างยิ่งของครูที่ต้องจัดการ
ข้อสังเกตสำหรับการใช้การบำบัดทางการแพทย์
ครูต้องสังเกตและสอดส่องดูแลผลลัพธ์และประสิทธิผลในการบำบัด
ครูต้องให้ข้อมูลสำคัญแก่แพทย์หรือนักจิตวิทยา
ปัญหาทางด้านพฤติกรรมและการเรียนรู้ที่มีภาวะ ADHD
จากผลการวิจัย
ผิดปกติทางด้านความวิตกกังวล/หดหู่
ไม่ประสบความสำเร็จในด้านการเรียน/ทำงานที่มอบหมายไม่ได้
มีปัญหาเกี่ยวกับทักษะสังคม/มีพฤติกรรมต่อต้านและทำความผิด
การจัดการกับ ADHD
การจัดการทางด้านพฤติกรรม
การจัดการศึกษาที่เหมาะสม
การศึกษาและการเข้าใจใน ADHD
การบำบัดทางการแพทย์
ครูจะจัดการกับผู้เรียนที่ไม่เชื่อฟังอย่างไร
วางแผนการสอนให้ตรงกับความสนใจของผู้เรียน
ครูไม่ควรพูดเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวกับการเรียนอย่างเดียว
ชวนคุยเรื่องเกี่ยวกับความสนใจหรือความกังวลของผู้เรียน
ช่วยให้พวกเขาประสบความสำเร็จ
ระบุถึงการสำคัญตนเองที่ผิด
ส่งเสริมการมีค่าในตนเอง
ทำให้เกิดความภาคภูมิใจในความสามารถของตนเอง
ติดต่อผู้ปกครองของผู้เรียน
ครูควรช่วยให้ผู้เรียนมีความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ปกครอง
ครูควรเล่าการกระทำที่ดี แก่ผู้ปกครอง
ใช้กลยุทธ์แบบตัวต่อตัว
แบ่งปันความรู้สึกและความกังวลร่วมกับผู้เรียน
สนับสนุนให้เขาพูดถึงความรู้สึกตนเอง
ครูต้องส่งเสริมตัวบุคคลมากกว่าเป็นแก็ง
รับฟังและเข้าอกเข้าใจ
ครูต้องสนับสนุนความเป็นกลุ่มในเชิงบวก
ความรู้สึกส่วนตัวของครู
ควรโต้ตอบอย่างสงบ
ควรรักษาไว้ซึ่งคุณสมบัติดังนี้
ความอดทนและอดกลั้น
ความบากบั่นและไม่ย่อท้อ
ความเชื่อมั่นและความสามารถของผู้เรียน
การควบคุมตนเอง
อารมณ์ขัน
ความเอาใจใส่
ความเป็นห่วงอย่างแท้จริงและอบอุ่น
ครูไม่แสดงอาการโกรธออกไป
กรณีศึกษาที่ 1 : ADHD ในชั้นเรียนระดับประถมศึกษา
ตัวอย่างนักเรียนในชั้นเรียน
ไม่ใส่ใจการเรียน
ชอบเม่อลอย
ทำคะแนนสอบไม่ดี
ไม่ตั้งใจเรียนไม่สนใจกิจกรรมในชั้นเรียน
ประสบปัญหาทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์
ปราโมทย์นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ลืมส่งการบ้าน
ปราโมทย์เป็นตัวอย่างนักเรียนที่มีภาวะ ADHD ซึ่งเป็นความผิดปกติทางพฤติกรรมที่เด็กมีความไม่ตั้งใจเรียน หุนหัน/หรือมีพฤติกรรมที่ลุกลี้ลุกลน
กรณีศึกษาที่ 2 :ผู้เรียนที่มีพฤติกรรมไม่เชื่อฟังในชั้นระดับมัธยมศึกษา
ปรีดา อารี และสมใจ
ศึกษาอยู่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
มักไม่ส่งการบ้าน
ขาดเรียนอยู่บ่อย ๆ
ไม่มีแรงจูงใจในการเรียน
ก่อพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมอยู่เรื่อย ๆ
ไม่สนใจว่าครูกำลังสอนอยู่
ฟุบหลับบนโต๊ะ
พูดคุยเสียงดัง
ไม่เคารพครูและเข้าร่วมแก็งอันธพาล
การจัดการกับนักเรียนที่ประสบปัญหา
เพราะเหตุใดผู้เรียนเหล่านี้จึงขาดแรงจูงใจ
อารมณ์ฉุนเฉียว
พฤติกรรมที่ก้าวร้าว
นักเรียนไม่ประสบความสำเร็จในการเรียน
เพราะเหตุใดการเข้าร่วมแก็งอันธพาล
รู้สึกว่าตัวเองมีค่า และอำนาจ
ต่อต้านบรรทัดฐานทางสังคม
ฝ่าฝืนกฎระเบียบ
ครูควรทำอย่างไรหากสงสัยว่าผู้เรียนในชั้นเรียนของครูอาจมีภาวะ ADHD
ครูควรปรึกษากับผู้ปกครอง
ครูควรปรึกษาผู้เชี่ยวชาญเพื่อวินิฉัยสาเหตุ
ครูควรปรึกษากับฝ่ายประสานงานด้านการเรียนรู้
อะไรคือสัญญาณบ่งบอกว่าผู้เรียนคนใดมีภาวะ ADHD
ความลุกลี้ลุกลน
ความหุนหัน
การขาดความตั้งใจ