Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีวิทยาระบบ ต่อมไร้ท่อ - Coggle Diagram
พยาธิสรีวิทยาระบบ
ต่อมไร้ท่อ
ความผิดปกติของต่อมไทรอยด์
Hyperthyroidism
thyrotoxicosis
▪ อาการต่อมเป็นพิษรุนแรง ; ไข้สูง คลื่นไส้อาเจียน หัวใจล้มเหลว ตาโปน (exophthalmos)
▪ Thyroid crisis เมื่อ stress
▪ ตื่นเต้นง่ายไม่มีสมาธิ (agitate) นอนไม่หลับ (insomnia)
▪ กินจุ น้ าหนักลด ผอม activity สูง
สาเหตุ
● กรรมพันธุ์, TSH มาก, Autoimmune disease
Hypothyroidism
Cretinism,Juvenile hypothyroidism
อาการ
• “สภาพแคระโง่ ”
ปัญญาอ่อน หูหนวก เป็นใบ้
ขี้หนาว กินไม่เก่ง เฉื่อยชา
ท้องผูก
• ซึม ไม่ร้องกวน หลับมาก เสียงแหบ
• ตัวอ่อนปวกเปียก ลิ้นโตคับปาก
สาเหตุ
● ขาดไอโอดีน ได้ antithyroid agent
● การสร้าง TH ผิดปกติ
● ไม่มีต่อมไทรอยด์แต่กำเนิด
myxedema
กลไก myxedema
➢ Nonpitting edema
• Coronary arterial disease
• คลอเลสเตอรอลสูง
• การดูดซึมวิตามินดี 12 ลดลง
• Bradycardia ท้องผูก
• ทนความเย็นไม่ได้ ผิวแห้ง หยาบ
➢ Calorigenic action ต่ำ
TH ต่ำ (อาจมีคอพอกร่วมด้วย)
อาการ
• ถ้ารุนแรง จะซึมลงจนหมดสติ
• หนังตา หน้า บวม ผิวหนังหยาบ แห้ง
• อ้วนขึ้น กินน้อย ขี้หนาว
กล้ามเนื้อ ล้าไส้เคลื่อนไหวช้า
• อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย เฉื่อยชาเชื่องช้า
• ค่อยๆเกิดขึ้นช้าๆ
สาเหตุ
Autoimmune thyroiditis
รักษา grave’s disease โดยผ่าตัด ฉายแสงมากเกิน
ความผิดปกติของ
Hypothalamic pituitary system
เบาจืด Diabetes insipidus/DI
อาการ
ปัสสาวะบ่อย มาก กระหายน้ำบ่อย
ชอบดื่มน้ำเย็น ปากแห้ง มีอาการทั้งวัน
ปัสสาวะมากกว่า 5 ลิตรไม่มีกลิ่น ไม่มีสี และรสจืด
สาแหตุ
ADH ช่วยให้ร่างกายขับน้ า ไม่ให้ไตขับปัสสาวะออกมา มากกว่าปกติ
ต่อมใต้สมองสร้าง ฮอร์โมน ADH หรือ vasopressin ได้น้อย
ความผิดปกติของสมอง
Hyperpituitarism
GH มาก : Gigantism acromegaly
Gonadotropin มาก แต่ฮอร์โมนเพศต่ำ
TSH มาก
ACTH มาก
Panhypopituitarism
× ขาด vasopressin (ADH) เกิดเบาจืด (diabetes insipidus; DI)
× ขาด ACTH สมดุลเกลือแร่ และน้ำตาลผิดปกติ
ขาด Prolactin ไม่มีน้ำนม
ขาด TSH หัวใจเต้นช้า ความดันเลือดต่ำทนความเย็นไม่ได้
ความผิดปกติของ GH
ภาวะมี GH มาก
Gigantism เด็ก ความสูง >8 ฟุต
Hyperglycemia
Acromegaly ผู้ใหญ่
ภาวะมี GH ต่ำ
• เตี้ยแคระ (Dwarfism) เด็ก
Panhypopituitarism
Growth hormone
ลดการใช้กลูโคส
ลดการสลายโปรตีน
การเจริญของกระดูก เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน กล้ามเนื้อ
Metabolism และการท างานของอวัยวะภายใน
การเจริญเติบโต และพัฒนาการของร่างกาย
สาเหตุ
รังสี Head injury
ขาดเลือด เช่น Sheehan’s syndrome
เนื้องอก ทำให้ Hyperpituitarism หรือ Hypopituitarism
ภูมิคุ้มกันผิดปกติ
ติดเชื้อ ขาดเอนไซม์สังเคราะห์
แต่กำเนิด
การตรวจวินิจฉัยความผิดปกติ
รูปแบบความผิดปกติ
Tertiary disorder
ผิดปกติที่ hypothalamus เช่น craniopharyngiomasหรือได้รับcerebral irradiation
Secondary disorder
การตัดหรือทำลายต่อมใต้สมอง ทำให้ขาด ACTH ทำให้ขาดฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตชั้นนอก
• ต่อมผิดปกติเนื่องจากความผิดปกติของต่อมใต้สมอง
Primary disorder • ความผิดปกติที่ต่อมสร้าง
ความผิดปกติฮอร์โมนแบบ “Hyperfunction”
Ectopic tumor ที่สร้างฮอร์โมนได้ เช่น เนื้องอกที่หลอดลม หลั่ง ADH, ACTH
มี hormone producing tumor
เกิด hyperplasia ของต่อม
ต่อมถูกกระตุ้นมาก
ความผิดปกติของฮอร์โมนแบบ “Hypofunction”
ฮอร์โมนถูกทำลายโดย antibody (hormone resistant)
ต่อมสร้าง inactive hormone
ความผิดปกติของ receptor ได้แก่ ขาด receptor
ต่อมทำงานลดลงจาก อายุมาก ผลของยา
ต่อมถูกทำลายจากขาดเลือด ติดเชื้อ อักเสบ autoimmune response เนื้องอก
Congenital defect ได้แก่ ต่อมไม่เจริญ ขาดเอนไซม์สังเคราะห์
● การถ่ายภาพ
● การตรวจทางพันธุกรรม
● การตรวจปัสสาวะ
● การตรวจเลือด
กลไกความผิดปกติของฮอร์โมน
การตอบสนองที่ผิดปกติของเซลล์เป้าหมาย
ความผิดปกติภายในเซลล์
เซลล์เป้าหมายไม่ตอบสนองต่อฮอร์โมน มีการเปลี่ยนแปลงเอนไซม์และโปรตีนภายในเซลล์
การส่งสัญญาณของตัวรับและการสังเคราะห์cAMP ลดลง
ตัวรับที่เยื่อหุ้มเซลล์
มีแอนติบอดี้ต่อตัวรับ
ตัวรับทำงานไม่สมบูรณ์
จำนวนตัวรับลดลง
ความผิดปกติในการปล่อยฮอร์โมนสู่เซลล์เป้าหมาย
ความผิดปกติในการปล่อยฮอร์โมน
มีการสร้างฮอร์โมนจากแหล่งอื่น
โปรตีนซึ่งเป็นตัวพาฮอร์โมนไม่เพียงพอ
การไหลเวียนไม่ดี
ฮอร์โมนไม่ทำงาน
ระดับฮอร์โมนไม่เพียงพอ
ฮอร์โมนถูกทำลาย
ระบบการป้อนกลับผิดปกติ
Negative feedback ผิดปกติ ทำให้สังเคราะห์ฮอร์โมนมากเกินไป
Positive feedback ผิดปกติ ทำให้ให้สังเคราะห์ฮอร์โมนไม่เพียงพอ
การสังเคราะห์ฮอร์โมนไม่เพียงพอ
-สารตั้งต้นฮอร์โมนไม่เพียงพอ
-เซลล์ไม่สามารถเปลี่ยนสารตั้งต้นให้เป็นฮอร์โมน