Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
จิตวิทยาพัฒนาการมนุษย์สู่ความเป็นผู้นำยุคดิจิทัล - Coggle Diagram
จิตวิทยาพัฒนาการมนุษย์สู่ความเป็นผู้นำยุคดิจิทัล
พัฒนาการของมนุษย์ :silhouette:
วัยทารก (Infancy)
วัยเด็ก(Childhood Development)
วัยก่อนคลอด (Prenatal Development)
วัยรุ่น (Adolescence)
วัยผู้ใหญ่(Adulthood)
องค์ประกอบพัฒนาการของมนุษย์ :silhouette:
การเรียนรู้ (learning)
พันธุกรรม (heredity)
ด้านลักษณะของร่างกาย
ด้านความผิดปกติของร่างกาย
ด้านความบกพร่องในระบบการทำงานของอวัยวะ
ด้านเชาว์ปัญญา
วุฒิภาวะ (maturation)
สิ่งแวดล้อม (environment)
สิ่งแวดล้อมที่เป็นบุคคล
สิ่งแวดล้อมเป็นวัตถุ
สิ่งแวดล้อมที่เป็นบรรยายกาศ
หลักของการพัฒนาของมนุษย์ :silhouette:
พัฒนาการจะเริ่มจากส่วนใหญ่ไปส่วนย่อย
ส่วนบนไปสู่ส่วนล่าง ส่วนกลางไปสู่ส่วนปลาย
พัฒนาการจะต่อเนื่องกันไปตามลำดับตลอดเวลา
พัฒนาการจะไปตามแบบฉบับ
อัตราการพัฒนาในแต่ละส่วนของร่างกายจะแตกต่างกัน
พัฒนาการต้องอาศัยวุฒิภาวะ
อัตราการพัฒนาของแต่ละคน จะแตกต่างกันทำให้เกิดลักษณะเฉพาะแต่ละบุคคล
พัฒนาการทุก ๆ ด้านจะมีความสำคัญควบคู่กันไป
พัฒนาการในแต่ละวัยจะมีลักษณะเฉพาะตัวของมัน
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของมนุษย์ :silhouette:
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของพีอาเจต์
พัฒนาการจะเป็นไปตามระดับวุฒิภาวะ
พัฒนาการจะเป็นไปตามการสะสมการเรียนรู้ที่ได้จากการมีประสบการณ์กับสิ่งแวดล้อมและการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม
พัฒนาการเกิดขึ้นจากการผสมผสานระหว่างวุฒิภาวะกับการเรียนรู้
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของกาเย่
การเรียนรู้แบบการตอบสนอง
การเรียนรู้แบบลูกโซ่
การเรียนรู้แบบสัญญาณ
การเรียนรู้แบบภาษาสัมพันธ์
การเรียนรู้มโนทัศน์
การเรียนรู้กฏ
การเรียนรู้แบบปัญหา
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของบรุนเนอร์
การคิดแบบหยั่งรู้ (intuition) เป็นการคิดหาเหตุผลอย่างอิสระที่สามารถช่วยพัฒนาความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ได้
แรงจูงใจภายในเป็นปัจจัยสำคัญที่จะช่วยให้ผู้เรียนประสบผลสำเร็จในการเรียนรู้
การจัดหลักสูตรและการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับระดับความพร้อมของผู้เรียน และสอดคล้องกับพัฒนาการทางสติปัญญาของผู้เรียนจะช่วยให้การเรียนรู้เกิดประสิทธิภาพ
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของ
มนุษย์แบ่งได้เป็น 3 ขั้นใหญ่ ๆ คือ
ขั้นการเรียนรู้จากการกระทำ (Enactive Stage) คือ ขั้นของการเรียนรู้จากการใช้ประสาทสัมผัสรับรู้สิ่งต่าง ๆ การลงมือกระทำช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้ดี การเรียนรู้เกิดจากการกระทำ
ขั้นการเรียนรู้สัญลักษณ์และนามธรรม (Symbolic Stage) เป็นขั้นการเรียนรู้สิ่งที่ซับซ้อนและเป็นนามธรรมได้
ขั้นการเรียนรู้จากความคิด (Iconic Stage) เป็นขั้นที่เด็กสามารถสร้างมโนภาพในใจได้ และสามารถเรียนรู้จากภาพแทนของจริงได้
การจัดโครงสร้างของความรู้ให้มีความสัมพันธ์ และสอดคล้องกับพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็ก มีผลต่อการเรียนรู้ของเด็ก
การเรียนรู้เกิดขึ้นได้จากการที่คนเราสามารถสร้างความคิดรวบยอด หรือสามารถจัดประเภทของสิ่งต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
การเรียนรู้ที่ได้ผลดีที่สุด คือ การให้ผู้เรียนค้นพบการเรียนรู้ด้วยตนเอง (discovery learning)