Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตรวจร่างกายระบบช่องท้อง - Coggle Diagram
การตรวจร่างกายระบบช่องท้อง
1.การดู :<3:
การเคลื่อนไหวหรือการทำงานของกระเพาะลำไส้
มีแผลเป็นหรือลอยผ่าตัดที่บริเวณหน้าท้อง
มีหลอดเลือดำที่โปร่งพอง
การเคลื่อนไหวของหน้าท้องระหว่างหายใจ
บริเวณที่มีการนูนหรือดปร่งพองเป็นเฉพาะที่
การดูรูปร่างลักษณะของท้องที่โตกว่า
2.การฟัง : :star:
-การใช้ stepchoscope ด้าน bell ในการฟัง
เสียงผิดปกติ เช่นเสียงฟู่ (Bruit) เกิดจาหความผิดปกติของหลอดเลือแดง
เสียงการเคลื่อนไหวของลำไส้ Bowel sound
Hypoactive <6 ครั้ง/นาที
Hyperactive >6 ครั้ง/นาที
ปกติได้ยินครั้งละ 6 - 12 ครั้ง/นาที
Normoactive
Absent bowel sound ไม่พบเสียง (ต้องฟังติดต่อ 3นาที ต้องไม่ได้ยินเลยถึงรายงานได้)
ฟังให้ทั่ว 4 Quadrants อย่างน้อย 3 นาที
การเคาะ : :explode:
วิธีตรวจ
ปลายนิ้วกลางข้างขวาเคาะลงบนน้วมือซ้ายของผู้ตรวจ เบาๆ ซึ่งวางแนบหน้าท้องผู้ป่วย เคาะจากส่วนที่โปร่งไปทึบ อวัยวะที่อยู่ลึกให้เคาะแรงขึ้น
การเคาะตรวจมี 3 วิธี
การตรวจการสันสะเทือนของสารน้ำ
หลักการ:สารน้ำในช่องท้องเป็นตัวนำทำให้เกิดการสั่นสะเทือน
วิธีตรวจ:ผู้ป่วยนอนหงายผู้ตรวจวางมือซ้ายขนานกับหน้าท้องด้านขวาของผู้ป่วยใช้มือเคาะเบาๆที่ท้องด้านซ้าย
การตรวจอาการแสดงแบบหลุมบ่
การตรวจหาสารน้ำในช่องท้องโดยเฉพาะที่จำนวนน้อย เช่น 200 มล. วิธีนี้ไม่นิยมใช้ เนื่องจากเป็นท่าที่ไม่สะดวกสำหรับผู้ป่วย
การตรวจเปลี่ยนที่ของเสียงเคาะทึบ
หลักการ:สารน้ำจะเปลี่ยนที่ไปอยู่ส่วนที่ต่ำสุดเสมอตามแรงโน้มถ่วง
วิธีตรวจ:ผู้ป่วยนอนหงายเคาะจากสะดือไปทางข้างซ้ายและขวาจนถึงเส้นกลางรักแร้ คนปกติได้ยินเสียงโปร่ง ภ้ามีน้ำในช่องท้องะได้ยินเสยงทึบ
ตรวจหาสารน้ำในช่องท้อง อากาศ ขนาดตับ ม้าม ก้อนในช่องท้อง
การเคาะตับ
การตรวจ
วิธีการตรวจ:เคาะในเเนวเส้นกลาง MCL.
เริ่มจากหน้าท้องล่างต่ำกว่าสะดือ ค่อยๆเคาะขึ้นบนจนได้ของล่างของตับซึ่งมีเสียงทึบ
ขนาดของตับปกติ
6 - 12 ซม. แนว Midclavicular line
4 - 12 ซม. แนว Midsternall line
วิธีการเคาะ :smiley:
การคลำ
คลำเบาๆหรือตื้นๆ ปลายนิ้ววางชิดกันกดค่อยๆตามบริเวณของหน้าท้อง
Rigidity: การเเข็งแกร่งของกล้ามเนื้อหน้าท้องตลอดเวลาเมื่อถูกกด มีการอักเสบที่ Parietal peritoneum
Guarding หรือ Spasm: การเเข็งแกร่งของกล้ามเนื้อหน้าท้อง ถ้าเกิดโดยไม่ได้จงใจแสดงวามีการอักเสบของ Visceral peritoneum
Reobound tenderness: กดมือลงไปลึกๆและปล่อยออกโดยเร็ว ตอนกดจะเจ็บแต่ตอนปล่อยจะเจ็บกว่า ถ้าหากมีการอักเสบของ Parietal peritoneum บริเวณนั้น
Murphy s sing: มือซ้ายวางบนชายโครงขวาให้นิ้วเเม่มือกดลงบริเวณถุงน้ำดี ให้ผู้ป่วยหายใจเข้า-ออก ถ้ารู้สึกเจ็บแสดงว่ามีการอักเสบ
Tenderness :กดเจ็บเฉพาะที่หรือทั่วไปแสดงว่ามีพยาธิสภาพของตำแหน่งที่กดเจ็บ กดเจ็บทั่วไปในช่องท้องเรียกว่า Generalized tenderness
คลำลึกๆหรือการคลำโดยใช้สองมือ ใช้ตรวจอวัยวะที่โตกว่าปกติและการคลำหาก้อนในช่องท้อง
ไส้ติ่งอักเสบ (Rovsings sihgn)
การคลำตับ
ใช้มือซ้ายรองด้านหลังของผู้ป่วยมือขวาวางราบบนผนังหน้าท้องปลายนิ้วชี้ไปทางศีรษะของผู้ป่วย ผู้ป่วยงอเขาขวาเล็กน้อย หายใจเข้าออกลึกๆ ช้าๆทางปาก คลำจากหน้าท้องทางด้านขวาล่างค่อยๆเคลื่อนขึ้นข้างบนเข้าหาชายโคลงจนนิ้วคลำพบตับ
การคลำโดยการเกี่ยว
ยืนด้านขวาหันหน้าไปทางปลายเท้าของผู้ป่วย ใช้นิ้วกดบริเวณชายโคลงขวา ขณะนั้นให้ผู้ป่วยหายใจเข้าลึกๆ
การคลำม้าม มือซ้ายดันจากด้านหลังของผู้ป่วยในระดับชายโคลงซ้าย มือขวาวางบนหน้าท้องให้นิ้วตั้งฉากกับชายโคลงซ้าย คนที่ม้ามโตมากๆ ค่อยๆเลื่อนขึ้นจากบนปลายนิ้วพบขอบม้ามซึ่งยื่นออกมาใตชายโคลงซ้าย
เมื่อคลำพบก้อน ต้องอธิบายลักษณะ ดังนี้
ขอบ(Edge)
ความนุ่มแข็ง(Consistency)
ผิว(Surface)
การกดเจ็บ(Tenderness)
รูปร่าง(Shape)
การเคลื่อนไหว(Mobility)
ตำแหน่ง(Location)
การสั่นสะเทือน(Pulastion)
ขนาด(Size)
หลัก
มือของผู้ตรวจต้องไม่ร้อนหรือเย็้นเกินไปและควรวางมือให้อยู่ในแนวราบ
เริ่มกาารคลำแบบเบาๆ พร้อมทั้งให้สังเกิตุสีหน้าของผู้ที่ถูกตรวจ
ใช้ฝ่ามือและนิ้ว
อาจให้ผู้ป่วยหายใจเข้าออกทางปากลึกๆและซ้ำๆ หรือชันเข่าทั้ง 2 ข้าง