Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตรวจร่างกายระบบหายใจ ระบบหัวใจ และระบบไหลเวียนโลหิต (Cardiovasclar),…
การตรวจร่างกายระบบหายใจ
ระบบหัวใจ และระบบไหลเวียนโลหิต
(Cardiovasclar)
ตรวจเพื่อประเมินการทําหน้าที่
ของอวัยวะส่วนประกอบของทรวงอก
เพื่อประเมิณผิวหนัง เต้านม กล้ามเนื้อ
กระดูกอก กระดูกซี่โครง
เพื่อตรวจการทำงานของหลอดลม ปอด
เพื่อตรวจหัวใจ ระบบไหลเวียนเลือด
การตรวจทรวงอกและปอด
(Thorax / Chest & Lung)
Anatomical landmark
ตำแหน่งที่สำคัญบริเวณทรวงอก
Angle of Louis
เป็นส่วนต่อระหว่าง Manubrium
กับ Sterni sternum คลำได้ชัดบริเวณซี่โครงที่ 2 ทางด้านหน้า
Spinous process of T1
ให้ผู้ป่วยก้มคอ คลำได้ปุ่มนูนที่สุด
คือบริเวณ C7 และ T1
Inferior angle of scapula
เป็นตำแหน่งที่ตรงกับกระดูกซี่โครงที่ 7 ด้านหลัง
Suprasternal notch
Costal angle
Nipple
เส้นสมมติที่สำคัญ
(Imagination line)
เป็นเส้นที่ใช้เปรียบเทียบบอกตำแหน่ง
ของสิ่งที่ตรวจพบบนทรวงอก
Mid axilary line
ลากเส้นแนวดิ่งผ่านจุดกึ่งกลางรักแร้
Mid sternal line
ลากจากแนวดิ่งผ่านกลาง sternum
Anterior axilayr line
ลากเส้นแนวดิง่ผ่านรอยพับด้านหน้าของรักแร้
Mlid clavicular line
ลากเส้นแนวดิ่ง ผ่านจุดกึ่งกลางกระดูกไหปลาร้า
Posterior axilary line
ลากเส้นในแนวดิ่งผ่านรอยพับด้านหลังรักแร้
Vertebral line
ลากเส้นแนวดิ่งผ่านกระดูกสันหลัง
Scapular line
ลากเส้นแนวดิ่งผ่านมุมแหลมล่างของกระดุกสะบัก
วิธีการตรวจ
1.การดู
ขนาดและรูปร่างทรวงอก
ภาวะปกติ
Normal shape
AP : Transverse diameter เป็น 1: 2
ไม่มีลักษณะอกไก่ , อกบุ๋ม , อกถังเบียร์
ภาวะผิดปกติ
ขนาดทั้ง 2 ข้างไม่เท่ากัน ช่องซี่โครง
แคบหรือกว้างเกินไป
มีลักษณะอกไก่
(Pigeon chest)
มีลักษณะอกบุ๋ม (Funnel chest)
การเคลื่อนไหวของทรวงออก
สังเกตการขยายตัวทรวงอก
สังเกตอัตราการหายใจ
ความลึก จังหวะ
ภาวะปกติ
การเคลื่อนไหวทรวงอกสัมพันธ์กับการหายใจ และเท่ากันทั้ง2 ข้าง
ภาวะผิดปกติ
การเคลื่อนไหวของทรวงอกไม่สัมพันธ์กับการหายใจ
ลักษณะผิวหนังทรวงอก
ภาวะปกติ
ไม่มีรอยการผ่าตัด
ไม่มี Spider nevi
Normal color
ภาวะผิดปกติ
มีผื่น มีแผล
มี Spider nevi
มีรอยแผลการผ่าตัด
2.การฟัง
Nomal breath sound
Tracheal breath sound
บริเวณคอตำแหน่ง
Tracher และ Bronchu
ภาวะปกติ
ลักษณะเสียงจะดังมาก หายใจเข้าสั้น ออกยาว
มีช่องว่างเงียบระหว่างเสียงหายใจเข้าและออก
Bronchovesicular breath sound
บริเวณรอบ manubriu
ภาวะปกติ
เสียงดังปานกลาง หายใจเข้าออกเท่ากัน
มีช่องว่างเงียบระหว่างเสียงหายใจเข้าและออก
vesicular breath soun
บริเวณชายปอดทั้ง 2 ข้าง
ลักษณะเสียงเบาหายใจเข้ายาว ออกสั้น
ฟังได้ทั่วทั้งปอดหรือบริเวณของถุงลม
การฟังเสียงที่ผิดปกติ
Wheezing
เสียงแหลมกว่า rhonchi ขึ้นกับ
ความเร็วของลมที่วิ่งผ่าน
Rhonchi
เสียงใหญ่และทุ้ม หลอดลมขนาดใหญ่ตีบแคบ
Stridor
เป็นเสียงหวีด
Crepitation
เสียงที่ไม่ต่อเนื่อง เกิดจากลมหายใจ
3.การคลำ
Lung expansion
วางฝ่ามือ 2 ข้าง ทาบทรวงอกด้านหลังใช้นิ้วหัวแม่มือ
วางขนานกับ Rib ที่10 ฝ่ามือโอบด้านข้างทรวงอก
ปลายนิ้วหัวแม่มืออยู่ใกล้แนวกระดูกสันหลัง
ผู้ป่วยหายใจเข้า ออกลึก ๆ
ภาวะผิดปกติ
ความรู้สึกถูกดันขยายของมือทัง้ข้างไม่เท่ากัน
ภาวะปกติ
ฝ่ามือทั้งสองรู้สึกขยายออกเท่ากันนิ้วหัวแม่มือ
เคลื่อนออกจากจุดกึ่งกลางออกเท่ากัน
Tactile fremitus
ใช้ฝ่ามือหรือสันมือวางบนผนังอกด้านหนังจากบนลงล่างหรือล่างขึ้นบน ผู้ป่วยนับ1 2 3จะรู้สึกถึงการสะเทือน
ภาวะปกติ
ความรู้สึกสั่นสะเทือนมากที่สุดบรเิวณกระดูก
ออกตรงICS 2 สั่นสะเทือนเท่ากัน
ภาวะผิดปกติ
ภาวะผิดปกติคลําได้ tactile fremitus ลดลง เพิ่มขิ้น
ตําแหน่งของหลอดลม
ใหผู้ป่วยนั่งหรือนอนก้มคอมาข้างหน้า
ผู้ตรวจใช้นิ้วชี้และนิ้วกลางกดลงบน Suprasternal notch
ภาวะปกติ
ช่องว่างระหว่างหลอดลมกับ
Sternocleidomastoid ทั้ง 2 ข้างเท่ากัน
คลําตําแหน่งที่กดเจ็บ
เช่น Costochondral junction
4.การเคาะ
นิ้วมือซ้ายเหยียดตรงวางแนบบริเวณ
ที่จะตรวจใช้นิ้วกลางมือขวาเคาะลงบนนิ้วกลาง
มือซ้าย บริเวณDistal interphalangeal join
ภาวะปกติ
ได้ยินเสียงเคาะ Resonance ทั่วทั้งปอด
ด้านหน้ามีเสียงdullness บริเวณซ้าย Sternum ตั้งแต่ช่องซีโครง 3-5
มีเสียง dullness ของตับที่ช่องซี่โครง 6
ภาวะผิดปกติ
พบเสียง hyperresonance
การตรวจหัวใจและระบบไหลเวียนโลหิต
(Cardiovasclar)
วิธีการตรวจ
1.การดู
ลักษณะผนังทรวงอก
ภาวะปกติ
Normal shape
Normal color
AP : Transverse diameter เป็น 1: 2
ไม่มี Spider nevi
ไม่มีรอยการผ่าตัด
ภาวะผิดปกติ
มีลักษณะอกบุ๋ม
(Funnel chest)
มีลักษณะอกไก่
(Pigeon chest)
มี Spider nevi
Apical impuls
ตําแหน่งที่หวัใจเเต้นแรงสุด
เรียก point of maximum impulse : PMI
Abnormal pulsatio
บริเวณ Precordial area
คอทั้ง 2 ข้าง
3.การคลำ
Ventricular heave
หัวใจห้องล่างซ้าย
วางฝ่ามือให้ส่วนสันมือทาบบริเวณหัวใจห้องล่างซ้ายหนังปลายมือไปด้านข้าง ถ้าพบแรงกระแทกมาถูกฝ่ามือแรง แสดงว่ามี heave หัวใจห้องล่างซ้าย
หัวใจห้องล่างขวา
วางฝ่ามือให้ส่วนส้นมือทาบบริเวณขอบซ้ายกระดูกอก
พบแรงกระแทกผิดปกติมี Heave ของหัวใจห้องล่างขวา
Thrill
วางมือให้ดูส่วนฐานของนิ้วมือทับตำแหน่งลิ้นหัวใจเมื่อมี thrill จะรู้สึกมีคลื่นมากระทบที่มือ การพบ thrill จะได้ยินเสียง murmur
ภาวะปกติ
Apex beat คลําได้กว้างประมาน 2 เซนติเมตร
อยู่ที่ซี่โครงที่ 5 ข้างซ้าย แนว MCL.
ภาวะผิดปกติ
Apex beat เคลื่อนที่จากตําแหน่งเดิม
คลําตําแหน่งของ PMI.
ใช้ปลายนิ้วมือทั้ง 4 นิ้วเป็นตําแหน่งที่หัวใจเต้นแรงสุด
อยู่ที่ช่องซี่โครงที่ 5 ตรงกับ MCL.เป็นตําแหน่งของ Apex
2.การฟัง
ตำแหน่งลิ้นหัวใจ
Pulmonic valvular area Lt. ICS 2 ติดกับ Sternum
Tricuspid valvular area Lt. ICS 5 ติดกับ Sternum
Aortic valvular area Rt. ICS 2 ติดกับ Sternum
Mitral valvular area Lt. ICS 5 ตัดกับ MCL.
Normal heart soun
S1 เกิดจากการปิดของ mitral และ Tricuspid valve
เกิดในช่วงหัวใจบีบตัว ฟังชัด สุดที่Apex
S2 เกิดจากการปิดของ pulmonic และ aortic valve
เกิดช่วงคลายตัว ฟังชัด ที่ pulmonic และ aortic valve
Cardiac murmur
เกิดจากการสั่นสะเทือนของเลือดขณะการไหล
ของเลือดผ่านลิ้นหัวใจหรือเส้นเลือดผิดปกติ
Systolic murmur
เกิดจาก S1และS2 เกิดพร้อมกับการเต้นของชีพจรที่คอ
Daistolic murmur
เกิดจาก S2 และS1 เกิดหลังการเต้นของชีพจรที่คอ
นางสาวศศิวิมล วุฒิเขตร์
ห้อง 2A เลขที่ 70
รหัสนักศึกษา 62123301137