Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Congestive heart failure - Coggle Diagram
Congestive heart failure
ความหมาย
ภาวะที่หัวใจทำงานได้ไม่มีประสิทธิภาพ ไม่สามารถบีบเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่เพียงพอแก่ความต้องการของร่างกาย
หัวใจห้องล่างซ้ายวาย
ภาวะแทรกซ้อน
น้ำท่วมปอดเฉียบพลัน (Acute pleural effusion) ถ้าไม่ได้รับการรักษาอาจถึงตายได้ ผู้ป่วยจะมีอาการเหนื่อยหอบรุนแรง ไอมาก บางครั้งเสมหะเป็นฟองสีชมพู นอนราบไม่ได้ หายใจมีเสียงวี๊ด ฟังปอดพบ Crepitation ฟังหัวใจ พบ S3 Gallop :
อาการ
.
-
-
หอบเหนื่อย เจ็บหน้าอก หายใจลำบากตอนกลางคืน (Paroxysmal nocturnal dyspanea/PND) ไอ หายใจลำบากเมื่อนอนราบ (Orthopnea) และมักพบหายใจลำบากในตอนกลางคืน ปัสสาวะออกน้อย ซีดเขียวคล้ำ ชีพจรเบา
-
-
กรณีศึกษา มีอาการหายใจเหนื่อยหอบ นอนราบไม่ได้ หายใจลำบากในตอนกลางคืนลุกขึ้นมานั่งหอบ ปัสสาวะออกน้อย จึงไปพบแพทย์. ผล CT-scan วันที่11/10/63 พบCardiomegaly
-
พยาธิสภาพ
-
-
-
ทำให้หัวใจห้องบนซ้ายบีบเลือดส่งมายังหัวใจห้องล่าวซ้ายน้อยลง ปริมาณเลือดและความดันเลือดในหัวใจห้องบนซ้ายสูงขึ้นเรื่อยๆ
เลือดจากปอดที่ฟอกแล้วก็จะไหลเข้าสู่หัวใจห้องบนซ้ายได้น้อยลง เป็นผลทำให้ความดันเลือดในหลอดเลือฝอยที่ปอดสูงขึ้น ทำให้ของเหลวออกจากหลอดเลือดฝอยที่ปอดเข้าสู่ถุงลม ทำให้ผู้ป่วยาภาวะน้ำท่วมปอด หอบ ไอ และเขียว
หัวใจห้องล่างขวาวาย
อาการ
-
-
-
-
▪︎ตับ ม้ามโตและปวดแน่นท้องหรือเจ็บแปลบที่ท้องด้านขวาส่วนบน จากการที่มีเลือดคั่งที่ตับ มีอาการเบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน ท้องอืด
▪︎บวมที่ขาทั้ง 2 ข้างกดบุ๋ม มือบวม นิ้วบวม ก้นกบบวม อวัยวะเพศบวม น้ำหนักตัวเพิ่ม การบวมทั้งตัวอาจมีได้ในระยะสุดท้ายของหัวใจวาย มี
สาเหตุ
กล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างขวาขาดเลือด หลอดเลือดที่ปอดมีความดันสูง หรือหัวใจล่างซ้ายวายมีผลทำให้หัวใจห้องล่างขวาวายตามมา
พยาธิสภาพ
-
ส่งผลให้ความดันเลือดในหัวใจห้องล่างขวาเพิ่มขึ้น ทำให้มีผลกระต่อการไหลเวียนของเลือดดำทั่วร่างกาย เนื่องจากมีภาวะน้ำคั่ง
เกิดจากกล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างขวาไม่สามารถสูบฉีดเลือดไปฟอกที่ปอดได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งมักเกิดจากแรงดันในหลอดเลือดฝอยที่ปอดสูงขึ้นและกล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างขวาตาย
ทำให้ผู้ป่วยมีอาการบวม ตับและม้ามโต ลาำไส้บวมจนอาการจุกแน่นชายโครง มีอาการเบื่อออาหาร ท้องมาน หลอดเลือดดำที่คอโป่งพอง และปัสสาวะบ่อยในตอนกลางคืน
-
J
-
ภาวะแทรกซ้อน
-
3.ลิ่มเลือด การนอนรักษาตัวในโรงพยาบาล และใช้เครื่องช่วยหายใจอาจเพิ่มความเสี่ยงให้เกิดลิ่มเลือดโดยเฉพาะลิ่มเลือดบริเวณขาซึ่งลิ่มเลือดบางส่วนอาจแตกตัวออกและเคลื่อนไปยังปอดๆ
4.มีปัญหาเกี่ยวกับความทรงจำและการคิดยาระงับประสาทที่ใช้ในการรักษาระดับออกซิเจนในเลือดต่ำอาจทำให้สูญเสียความทรงจำและทำให้กระบวนการคิดผิดปกติซึ่งบางรายอาจมีอาการแพ้ชั่วคราวแต่บางรายอาจเป็นอย่างถาวร
- เกิดปัญหาในการหายใจผู้ป่วยหลายๆอาจจะใช้เวลาในการรักษานานหลายเดือนจนถึง 2 ปีกว่าการทำงานของปอดจะฟื้นฟูเป็นปกติแต่บางรายอาจมีการหายใจผิดปกติไปตลอดชีวิต
2.ภาวะโพรงเยื่อหุ้มปอดมีอากาศ โดยทั่วไปผู้ป่วยเองจะต้องใช้เครื่องช่วยหายใจเพื่อเพิ่มระดับออกซิเจนในร่างกายและช่วยขับของเหลวออกจากปอดแต่แรงดันและอากาศจากเครื่องช่วยหายใจอาจทำให้อากาศไหลออกจากรูปในปอดและทำให้ปอดแตกได้
-
Acute kidney injury
เป็นภาวะที่ไตสูญเสียหน้าที่อย่างกะทันหันทำให้การทำ หน้าที่ของไตเสียมีผลทำให้เกิดของเสียข้างในเลือดเช่นยูเรียไนโตรเจน ครีอะตินีนเป็นต้น
สาเหตุ
ความดันโลหิตลดลง เลือดไปเลี้ยงไตลดลงด้วยADH จะทำให้ไตเก็บกักน้ำและเกลือไว้ ปัสาวะจึงเข้มข้นและมีปริมาณน้อย
-
-
-
-
-
กรณีศึกษา:ภาวะcongestive heart failure. และรับประทานถังเช่าวันละ1เม็ดหลังอาหารเช้าทุกเม็ด เป็นระยะเวลา6เดือนก่อนมาโรงพยาบาล
พยาธิสภาพ
•เมื่อเซลล์ที่บูนไตถูกทำลายทำให้เซลล์หลุดออกมาทางท่อไตและอุดกั้นท่อไตทำให้สารน้ำต่างๆที่ถูกกรองออกมาไหลย้อนกลีบผ่านเซลล์ทิวบูลเข้าร่ากายผลตามมาคือทำให้อัตราการ
-
• เมื่อไตขาดเลือดไปเลี้ยงทำให้อัตราการกรองของไตลดลงอย่างมากทำให้ไตสร้างnitricoxideซึ่งมีหน้าที่ขยายหลอดเลือดลดลงร่วมกับสร้างendothelinทำให้หลอดเลือดหดตัวเซลล์ทิวบูลถูกทำลายและตาวายเพิ่มขึ้น
-
อาการและอาการแสดง
-
ใช้เวลานิดนึงวันถึง 1-2 สัปดาห์จนไม่มีปัสสาวะทำให้ไตไม่สามารถขับของเสียออกมาได้มีการคั่งของ BUN Cr คือแร่ในกรดในร่างกายครั้งครั้งในกระแสเลือดต้องระมัดระวังการให้สารน้ำเนื่องจากบวมน้ำท่วมปอดและหัวใจล้มเหลว
-
ไปค่อยๆฟื้นตัวมีปัสสาวะมากขึ้นระดับ BUN,Cr ค่อยๆลดลงมีการสูญเสียน้ำโซเดียมและโพแทสเซียมเนื่องจากปัสสาวะออกมาถึง 4-5 ลิตรต่อวัน
-
กรณีศึกษา วัน11/10/63ปัสสาวะออกน้อย 140 cc.ใน1เวรผลLab Blood Chemistry)วันที่15/10/63Creatinine (eGFR)10.04mg/dl (สูงกว่าปกติ )BUN 115 Mg/dl(สูงกว่าปกติ)eGFR 5.5 mL/Min/1.73n K 5.98 mmol/L (สูงกว่าปกติ) Cl 89 mold/L (ต่ำกว่าปกติ) CO2 28.2mmol/L
-
Pneumonia
ความหมาย
ภาวะปอดซึ่งเกิดการอักเสบ ซึ่งอาจเป็นเชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส ซึ่งในสภาวะที่ผิดปกติอาจจะเกิดจาก เชื้อรา และ พยาธิ เมื่อเป็นปอดบวม จะมีหนอง และสารน้ำอย่างอื่นในถุงลม ทำให้ร่างกายไม่สามารถรับ oxygen ทำให้ร่างกายขาด oxygen และอาจถึงแก่ชีวิตได้
-
อาการและอาการแสดง
-
-
-
-
-
กรณีศึกษา หายใจหอบเหนื่อย เสมหะเหลืองปนเลือด2-3สาย ฟังเสียงปอดได้ยิน Crepitation both lung อัตราการหายใจ 24ครั้ง/นาที มีไข้อุณหภูมิ 38.8องศาเซลเซียส (วันที่12/10/63)
พยาธิสรีวิทยา
ระยะบวมคั่ง (Stage of congestion or edema) เมื่อเชื้อโรคเข้าสู่ปอดจะเป็นตัวอย่างรวดเร็วร่างกายจะมีปฏิกิริยาตอบสนองมีเลือดมาทางบริเวณที่มีการอักเสบหลอดเลือดขยายตัวมีแบคทีเรียเม็ดเลือดแดง ไฟบริ้น และเม็ดเลือดขาวออกมากินในระยะนี้กินเวลา 24 ถึง 48 ชั่วโมงหลังจากการติดเชื้อเข้าปอด
ระยะเนื้อปอดแข็ง (Stage of ระยะแรกจะพบว่าเม็ดเลือดแดงและไฟบริ้นอยู่ในถุงลมเป็นส่วนใหญ่หลอดเลือดที่ผนังถุงลมปอดขยายตัวมากขึ้นทำให้เนื้อสีแดงการขายตับสด heptization)
ระยะปอดฟื้นตัว (Stage of resolution) ให้ร่างกายสามารถต้านทางโรคไว้ได้ เม็ดเลือดขาวสามารถทำลายแบคทีเรียที่อยู่ ในถุงนมได้หมดจะมีเอนไซม์ออกมาละลายไฟบริ้น เม็ดเลือดขาวและหนองก็จะถูกขับออกมาเป็นเสมหะมีลักษณะเป็นสีสนิม
การรักษา
การรักษาทั่วไป
-
-
-
-
-
-
-
กรณีศึกษา
1.ดูแลsuction clear airway แบบ Close suction โดยยึดหลักAseptic techniqueเพื่อให้ทางเดินหายใจโล่งลดการอุดกั้นทางเดินหายใจ โดยใช้แรงดัน100-120mmHg ดูดครั้งละไม่เกิน10-15วินาทีเพื่อป้องกันกล่องเสียงหดเกร็ง ดูดเสมหะไม่เกิน3ครั้ง/รอบหยุดพักนาน20-30วินาทีระหว่างดูดเสมหะเพื่อป้องกันภาวะพร่องO2
2.เช็ดตัวลดไข้
3.ดูแลให้ได้รับO2ผ่านเครื่องช่วยหายใจ on ET-tube no.8 m22.with ventilator mode P-CMV RR20 PC18 PEEP10 FiO2 1.0 Oxygen satulation100%เพื่อให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอตรวจสอบท่อช่วยหายใจให้อยู่ต่ำแหน่งที่เหมาะสม
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
•อาการสำคัญดังนี้ได้แก่ ไข้ ไอ หอบ อาจมีภาวะซีดเขียวหรือหยุดหายใจอ่อนเพลียกินอาหารได้น้อยลงมีโรคประจำตัว การเจ็บป่วยในอดีตเกี่ยวกับโรคทางเดินหายใจ
-
การตรวจร่างกาย
-
-
-
•หายใจได้ยินเสียงfineหรือ medium Crepitation,rhonchiและWheezing
-
กรณีศึกษา ตรวจร่างกายวันที่12/10/63:หายใจหอบเหนื่อย อัตราการหายใจ24ครั้ง/นาที ฟังเสียงปอดได้ยินเสียงcrepitation both lung มีไข้ Temp: 38.8 องศาเซลเซียส
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-
-
-
-
กรณีศึกษา ผลตรวจทาง :ห้องปฏิบัติการ CBC วันที่12/10/63พบว่า WBC.Cont =22,520cell/cu.m.m (สูงกว่าปกติ) Neutrophil 90.8 %(สูงกว่าปกติ) Lymphocyte 3.4%(ต่ำกว่าปกติ)แปลผลWBC.Cout NeutrophilสูงและLymphocyteต่ำเนื่องจาก อาจเกิดจากโรคจากการติดเชื้อเกิดขึ้นภายในร่างกาย. ผลตรวจ Gram Stain วันที่11/10/63พบเชื้อ Gram Possitve Cocci ผลCT-Scan วันที่11/10/63พบ Stable bough lung opacity
ภาวะแทรกซ้อน
•น้ำในช่องเยื่อหุ้มปอด (pleural effusion) เกิดจากการอักเสบของเนื้อปอดลามออกมาถึงเยื่อหุ้มปอด จำนวนน้ำมีได้ตั้งแต่เล็กน้อยจนถึงขนาดมาก ถ้ามีไม่มากก็อาจหายเองได้ ในรายที่มีจำนวนมากจนทำให้เกิดอาการหอบจะต้องทำการรักษาโดยการเจาะดูดเอาน้ำออก
-
•ปอดแตกและมีลมในช่องปอด (pneumothorax )มักเกิดจากการติดเชื้อที่รุนแรง ผู้ป่วยจะแน่นหน้าอกและหายใจหอบเหนื่อย
-
-