Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่7 การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาและทารกที่มีความผิดปกติของปัจจัย…
บทที่7 การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาและทารกที่มีความผิดปกติของปัจจัยการคลอด
การคลอดยาก/การคลอดยาวนาน
ความหมาย
การคลอดเนิ่นนาน (Prolong labor)
การคลอดยากที่มีการเจ็บครรภ์คลอดนานเกินกว่า 24. ชม.
การคลอดติดขัด(Obstructed)
การคลอดที่ไม่สามารถดำเนินได้ตามปกติและจำเป็นต้องได้รับการแก้ไข
การคลอดผิดปกติ(Abnormal labor)
การคลอดมีความก้าวหน้าของการเจ็บครรภ์คลอดไมเป็นไปตามกราฟการคลอด
ประเภทของการคลอด
.
Protracted active phase difilatation
ครรภ์แรกช้ากว่า 1.2 cm/hr
ครรภ์หลัง ช้ากว่า 1.5 cm/hr
Prolonged descent
ครรภ์หลัง ช้ากว่า 2 cm/hr
ความผิดปกติของการคลอดในระยะ laten phase ทำให้มีระยะ laten phase ยาวนาน
ครรภ์แรก >20 ชม.
ครรภ์หลัง > 14 ชม.
ความผิดปกติของการคลอดเนื่องจากการหยุดชะงักในระยะ active phase
Prolonged deceleration phase
ระยะ deceleration phase นานเกิน 3 ชม.ในครรภ์แรก1ชม.ในครรภ์หลัง
Secondary arrest of dilation
ในระยะ active phase นานเกิน 3 ชม.ในครรภ์แรก 1ชม.ในครรภ์หลัง
ส่วนนำไม่เคลื่อนต่ำ
ครรภ์แรก > 2 ชม.
ครรภ์หลัง > 1 ชม.
arrest of descent
CPO
failure of descent
ระยะ deceleration phase ส่วนนำไม่เคลื่อนต่ำลงมากกว่าระดับ iischial
สาเหตุ
สิ่งที่คลอดออกมา (passenger)
สุขภาพจิตของผู้คลอด(psysical condition)
ช่องทางคลอด(passage)
สุขภาพร่างกายของผู้คลอด(physical condition)
ความผิดปกติของแรงหดรัดตัวของมดลูก (power)
ท่าของผู้คลอด(position of mother)
ปัจจัยอื่นๆที่ก่อให้เกิดการคลอดยากผิดปกติ
ความผิดปกติทางด้านจิตใจ
ความวิตกกังวล
ความกลัว
ความเครียด
ผลต่อการคลอด
มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของระบบประสาทและต่อมไร้ท่อ
ส่งผล
ทำให้มดลูกหดรัดตัวช้า
ยับยั้งการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก ทำให้การคลอดยาวนานขึ้น
ความสามารถในการทนต่อความเจ็บปวดลดลง ทำให้ให้ความร่วมมือ คลอดลดลงด้วย พฤติกรรมการแสดงออกเช่น ร้องไห้ ร้องครวญคราง เอะโวยวาย ก้าวร้าว ไม่ยอมเบ่ง หรือ เบ่งคลอดไม่ถูกวิธี
ทำให้ผู้คลอดหวาดกลัวต่อมีความรู้สึกไม่มั่นคงและไม่ปลอดภัยจากการคลอด ไม่สามารถเผชิญ หรือควบคุมได้
ประสบการณ์จากความเจ็บปวดจากการคลอด ทำให้ เพิ่มความกลัวและวิตกกังวล ซึ่งเป็นผลมาจากความ เจ็บปวด มีผลทำให้เกิดการหลั่ง catecholamine
มีผลทำให้กล้ามเนื้อมดลูกหดรัดตัวไม่ดีและการดำเนินการคลอดล่าช้า
มีประสบการณ์ที่ไม่ดีในการคลอดที่ผ่านมา
การรับรู้ต่อปัญหาของตนเองไม่ถูกต้อง
รูปแบบการเผชิญปัญหาไม่เหมาะสม
ปัญหาทางเศรษฐานะ
ความไม่พร้อมขณะตั้งครรภ์
ลักษณะทารกและรกผิด
จำนวนทารถในครรภ์ที่มีมากกว่า 1 คน เช่น ครรภ์แฝด
ทารกมีรูปร่างผิดปกติ พิการ
พิการ
เด็กตัวโต
เด็กหัวบาตร
เด็กแฝดตัวติดกัน
มีแนวลำตัวผิดปกติ เช่น เด็กอยู่ในแนวขวาง
ทารกมีขนาดใหญ่ เช่น มีน้ำหนัก 4,000 กรัม
ส่วนนำผิดปกติ
ส่วนนำเป็นก้นหรือเป็นหน้า
ส่วนนำผสม เช่น ศีรษะและสายสะดือ หรือศีรษะและมือ
ท่าและทรงของเด็ก
ท่าหน้าผาก (Bow presentation)
ท่าก้น (Breech presentation)
ท่าหน้า (Face resentation)
ตำแหน่งที่รกเกาะผิดปกติ
รกเกาะที่ส่วนล่างของมดลูกหรือที่เรียกว่า
ปริมาณน้ำคร่ำน้อยกว่าปกติ(Qligohydramnios) หรือน้ำคร่ำมาก(Polyhydramnios)
หรือ ถุงน้ำคร่ำรั่วก่อนเจ็บครรภ์คลอดหรือก่อนคลอดเป็นเวลานาน
ช่องทางคลอดผิดปกติ
ความผิดปกติของหนทางคลอดส่วนที่เป็นกล้ามเนื้อแลเอ็นยืด
ปากมดลูก บวม
ด้านหน้าบวม
การเบ่งก่อนเวลา
ตรวจพบปากมดลูกรอบศีรษะทารกบวม มีขอบแข็ง เป็นมันใสสีแดงคล้ำ
ช่องคลอดผิดปกติ
ผิดปกติแต่กำเนิดหรือฉีกขาดของช่องคลอดแล้วไม่ได้เย็บ
การช่วยเหลือ
รายที่ช่องคลอดตีบมาก อาจต้อง C/S
ถ้าเป็นรอยแผลเป็นช่องคลอดตีบเล็กน้อย ถ้าผนังหนามากให้ผ่าท้อง
ภาวะคอมดลูกแข็ง
มดลูกหดรัดตัวปกติ แต่ปากมดลูกไม่เปิดหรือเปิดช้า
ตรวจพบว่าคอมดลูกแข็ง บางตึงแนบกับศีรษะทารก แต่ยืดขยายออกไม่ได้และปากมดลูกเป็นรูเล็ก
ถ้าเกิดขึ้นนานปากมดลูกอาจบวมได้
ช่องคลอดมีผนังกั้นกลาง
เมื่อเบ่งแล้วการคลอดไม่ก้าวหน้าและพบว่ามีแผ่นเนื้อ
การช่วยเหลือ
ถ้าผนังไม่หนา ตัดให้ขาดแล้วเย็บหลังทารกคลอดแล้ว
ถ้าผนังหนามากให้ผ่าท้องคลอด
ศีรษะทารกไม่ได้สัดส่วน
กับเชิงกรานมารดา
ผลต่อมารดาและทารก
มารดาอ่อนเพลียเกิดภาวะขาดน้ำ
ถุงน้ำทูนหัวแตกก่อนเวลา
หนทางคลอดอ่อนฉีกขาดมาก
มดลูกแตก
ทารกในครรภ์ขาดออกซิเจน และได้รับบาดเจ็บจากการคลอด
การช่วยเหลือ
กรณีแบบกำกึ่ง ถ้าการคลอดไม่ก้าววหน้า ต้องผ่าตัดทางหน้าท้องทันที
ผ่าตัดทางหน้าท้อง
ความผิดปกติของช่องเชิงกราน
เชิงกรานแคบ
ช่องเชิงกรานแคบช่องกลาง
Posterior sagittal diameter สั้นกว่า 5 ซม
Anteroposterior diameter สั้นกว่า 12 ซม
transverse diameter แคบกว่า 9 ซม
Posterior sagittal diameter สั้นกว่า 5 ซม
ช่องเชิงกรานแคบช่องออก
Pubic arch < 85 องศา
Intertuberous diameter สั้นกว่า 8 ซม
Posterior sagittal diameter สั้นกว่า 7-8 ชม
คลอดยากของศีรษะและไหล
ช่องเชิงกรานแคบช่องเข้า
Diagonal conjuate ขอบล่างถึง Sacral promontory ยาว<13 ซม
คลอดยาวนาน คลอดยากหรือหยุดชะงักในระยะ 1,2 ของการคลอดข
True conjuate ขอบบนถึง Sacral promontory ยาว< 11 ชม
ช่องเชิงกรานแคบทุกส่วน
คลอดยากทุกระยะของการคลอดมดลูดหดรัดตัวน้อยกว่าปกติ
กำลังการคลอดผิดปกติ
แรงจากการหดรัดตัว ของมดลูกผิดปกติ
*มดลูกหดรัดตัวน้อยกว่าปกติ
(hypotonic uterine dysfunctior
สาเหตุ
มดลูกมีเนื้องอก
ทารกตัวเล็ก
เชิงกรานแคบ
ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ
กระเพาะปัสสาวะเต็ม
มดลูกขยายมากกว่าปกติ
ครรภ์แฝด
ทารกตัวโต
ผลต่อการคลอด
อาการเกิดการคลอดยากในระยะที่ 1 และ 2ของการคลอด
ผลต่อผู้คลอดและทารก
เหน็ดเหนื่อยและหมดแรง ถ้าได้รับสารน้ำไม่เพียงพออาจเกิดภาวะขาดน้ำ
มีโอกาสตกเลือดเนื่องจากมดลูกหดรัดตัวไม่ดีซึ่งเกิดต่อเนื่องไปจนถึงระยะหลังคลอด
การพยาบาล
กระตุ้นให้ถ่ายปัสสาวะ ถ้าปัสสาวะเต็มและถ่ายเองไม่ได้ภายใน 2-4 ชม. ต้องสวนปัสสาวะให้
ดูแลให้ผู้คลอดได้รับสารน้ำและสารอาหารอย่างเพียงพอ
ถ้าปากมดลูกยังเปิดไม่หมด ถุงน้ำคร่ำยังไม่แตก ให้ลุกเดิน หรือนอนตะแคงศีรษะสูง
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกในระยะ active phase
ถ้าการคลอดเข้าสู่ระยะ active phase แน่นอน ส่วนนำ เข้าสู่ช่องเชิงกรานแล้วให้เจาะถุงน้ำร่วมกับให้ oxytocin
เฝ้าระวังภาวะตกเลือดหลังคลอด
มดลูกหดรัดตัวมากกว่าปกติ
(hypertonic uterine dysfunction)
**มดลูกหดรัดตัวไม่คลาย
(tetanic contraction)**
ผลต่อการคลอด
ส่วนใหญ่,ต้องผ่าตัด เพราะถ้าปล่อยไว้อาจมดลูกแตก
เจ็บครรภ์มากกว่าปกติ เจ็บคลอดอ่อนเพลีย อาจขาดน้ำ ทารกเสี่ยงขาด 02
การพยาบาล
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
จัดท่านอนตะแคงซ้าย
หยุดยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
เฝ้าระวัง fetal distress โดยฟัง FHS ทุก 5-10 min
ให้ยาแก้ปวด
สังเกตอาการเตือนมดลูกแตก ได้แก่ ผู้ คลอดเจ็บปวดมากเกิด Bandl's ring ให้ เตรียมผ่าคลอด และรายงานแพทย์
สาเหตุ
การคลอดติดขัด เนื่องจาก มีภาวะ CPD หรือทารกอยู่ในท่าผิดปกติ ทำให้มดลูกหด รัดตัวย่อยและแรงเพื่อผลักดันทารกออกมา
รกลอกตัวก่อนกำหนด
มดลูกหดรัดตัวเป็นวงแหวนบนรอย
คอดของทารก (Constriction ring
[สาเหตุ]
น้ำคร่ำน้อย ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ภายหลังการทำหัตถการ เช่น การ หมุนกลับท่าทารกในครรภ์
ภายหลังการคลอดทารกแฝดคนแรก
กล้ามเนื้อมดลูกชนิดวงกลม circular muscle กล้ามเนื้อมดลูกชนิดวงกลม circular muscle
ผลต่อการคลอด
วงแหวนดึงรั้งไม่ให้ทารกเคลื่อนต่ำลงมา เกิดการคลอดติดขัดต้อง ผ่าตัด
เจ็บครรภ์มาก
การคลอดติดขัด ถ้าวงแหวนเกิดระยะที่ 3 ของการคลอด
คลอด - มดลูกปิด - รกค้าง
การพยาบาล
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
หยุดยากระตุ้น
จัดท่านอนตะแคงซ้ายและให้ 02
ปากมดลูกไม่เปิดให้ผ่าคลอด
ให้สารน้ำตามแผนการรักษา
ให้ยาแก้ปวด
มดลูกหดรัดตัวไม่ประสาน
กัน(Uncoordinated contraction)
ผลต่อการคลอด
ปากมดลูกเปิดช้า เกิดการคลอดยาวนาน
เจ็บครรภ์มากกว่าปกติ เจ็บแม้มดลูกคลายตัว
_
อ
สาเหตุ
ผู้คลอดในครรภ์
ผู้คลอดอายุมาก
CPD
การพยาบาล
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
จัดให้ผู้คลอดท่านอนตะแคง
ดูแลให้ได้รับยาแก้ปวด
ดูแลให้พักผ่อน
ดูแลให้ได้รับสารน้ำสารอาหารอย่างเพียงพอ
เฝ้าระวังภาวะ fetal distress โดยฟัง FHS
การที่มดลูกหดรัดตัวถี่และแรง แต่ไม่สม่ำเสมอ ไม่มี ประสิทธิภาพ หดรัดบริเวณตอนกลางหรือตอนล่าง แรงดันน้ำ คร่ำ >60 mmHg ระยะพัก >15 mmHg หรืออาจถึง 85mmHg
แรงจากการเบ่ง
แรงเบ่งน้อย
การคลอดระยะที่2 ยาวนานทารกมีโอกาสเกิดภาวะขับคันหรือขาดออกซิเจน
การเบ่งเป็นระยะเวลานาน
หมดแรงอ่อนเพลีย
เกิดภาวะเลือดเป็นกรด เนื่องจากกล้ามเนื้อทำงานมาก
เกิดภาวะขาดน้ำ