Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่7พฤติกรรมทางสังคม, kisspng-social-media-human-brain-thought-brain…
บทที่7พฤติกรรมทางสังคม
7.1 ธรรมชาติของพฤติกรรมมนุษย์ในบริบทสังคมและวัฒนธรรม (Nature of human behavior in the socialculture context)
-
-
-
7.3 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และแนวทัศน์ที่เกี่ยวข้อง (Interaction between human and concerned perspectives)
7.3.1 การสร้างมิตรภาพระหว่างบุคคล (Interpersonal relations)) การสร้างมิตรภาพระหว่างบุคคลหมายถึงการสร้างความสัมพันธ์อย่างสนิทกับบุคคลอื่นเป็นการสร้างความสัมพันธ์ทางสังคมขั้นพื้นฐานตามความสมัครใจ
-
2) มิตรภาพทางเพศ gendered friendships) ความแตกต่างระหว่างเพศชายและเพศหญิงมีผลต่อประเด็นในการสร้างมิตรภาพที่แตกต่างกัน
3) การแลกเปลี่ยนทางสังคม (Social exchange) การเปิดเผยตนเองเป็นส่วนหนึ่งของการแลกเปลี่ยนทางสังคมซึ่งยังรวมถึงการแลกเปลี่ยนข้อมูลในลักษณะอื่น ๆ ด้วยตามความเป็นจริงความสัมพันธ์ประเภทต่างๆสามารถทำความเข้าใจภายใต้มิติแห่งการแลกเปลี่ยนทางสังคม ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงความสนใจ
4) ความรัก (romantic love) คือระดับการดึงดูดใจระหว่างบุคคลในระดับสูงพร้อมทั้งเป็นการกระตุ้นทางอารมณ์ (emotional arousal) ความรักมีข้อแตกต่างจากความชอบ (liking) ที่ปราศจากความเสน่หาหรือข้อผูกพันเชิงลึกใด ๆ
-
7.3.3 มิตรภาพ (Friendship) มิตรภาพคือรูปแบบการสร้างสัมพันธภาพระหว่างบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องกับกฎเป็นลักษณะสัมพันธภาพอย่างไม่เป็นทางการและนำไปสู่การดำรงชีวิตอย่างยั่งยืน
7.3.4 การรับรู้ทางสังคม (Social perception) การดำเนินชีวิตในสังคมส่วนหนึ่งของชีวิตบุคคลต้องมีการติดต่อกับบุคคลอื่น ๆ ทำให้เกิดการรับรู้ทางสังคมในลักษณะความเป็นไปของโลกต้องใช้ความรู้สึกในการติดต่อดังนั้นบุคคลต้องมีการพัฒนาความประทับใจ
7.3.5 ทฤษฎีการเปรียบเทียบสังคม (Social comparison theory) นักจิตวิทยาสังคมชื่อ Leon Festinger (1919-1989) อธิบายว่าสมาชิกในกลุ่มต่างมีความต้องการที่จะเปรียบเทียบการกระทำความรู้สึกความคิดเห็นหรือความสามารถด้านต่างๆ
7.3.6 เจตคติและการเปลี่ยนแปลงเจตคติ (Attitudes and attitudes change) Santrock (2000: 556) กล่าวว่าเจตคติหมายถึงความเชื่อหรือความคิดเห็นเกี่ยวกับบุคคลวัตถุสิ่งของและความคิดต่างๆ
-
-
3) การก่อรูปของเจตคติ (Forming of attitudes) กระบวนการก่อรูปของเจตคติได้รับความสนใจจากนักจิตวิทยาสังคมเป็นอย่างยิ่งเป็นระยะเวลาหลายปีและได้สรุปการก่อรูปของเจตคติดังนี้
-
-
-
-
-
-
-
-
-