Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สมดุลน้ำ อิเลคโทรลัยท์ กรด - ด่างในร่างกาย - Coggle Diagram
สมดุลน้ำ อิเลคโทรลัยท์ กรด - ด่างในร่างกาย
ความผิดปกติในสมดุลของน้ำ
ภาวะขาดขาด Hypovolemiaหรือ Dehydration Depletion
สาเหตุ
ได้รับน้ำน้อย
ซึม กลืนลำบาก
ถูกทำลายที่ไฮโปธาลามัสจะมีภาวะสมองบวม
ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว
สูญเสียน้ำมาก
มีไข้สูง
อาหารเป็นพิษ
หายใจหอบ
มีปัสสาวะออกมากพบในผู้ป่วยเบาหวาน
อาการ
ขาดน้ำประมาณ2% จะมีอาการกระหายน้ำเด็กจะขาดน้ำมากกว่าผู้ใหญ่
ขาดน้ำประมาณ5%จะมีอาการกระหายน้ำมาก คอเเห้ง ไม่มีน้ำลาย กลืนลำบาก ผิวหนังเเห้ง อุณหภูมิร่างกายสูง
ขาดน้ำประมาณ8%จะพบว่ามีโซเดียมในเลือดสูงถึง160mEq/L มีอาการทางสมองพูดไม่ชัด ซึม ไม่สนใจต่อสิ่งเเวดล้อม
การปรับตัวเมื่อร่างกายขาดน้ำ
หลั่งADH
ADHถูกกระตุ้นโดยความเข้มข้นของน้ำนอกเซลล์ที่เพิ่มขึ้น
ไตหลั่งRenin
เนื่องจากมีเลือดไปกรองที่ไตน้อยลง มีอัตราการกรองGFRเเละมีปริมาณน้ำกรองน้อยลง ผลของRenin -angiotensin - aldosterone system
กระหายน้ำ
เป็นความรู้สึกที่เกิดจากการกระตุ้นศูนย์กระหายน้ำThirst center
ปริมาตรของเลือดลดลง
จะมีการกระตุ้นBaroreceptorทำให้หัวใจเต้นเร็ว
ภาวะน้ำเกินWater excessหรือ Hypervolemia Water intoxication
สาเหตุ
ได้รับน้ำมากเกินไป
การขับน้ำออกจากร่างกายลดลง
พยาธิสภาพที่ไต
เกิดจากความผิดปกติของฮอร์โมน
ภาวะที่มีเลือดมาเลี้ยงไตน้อยลง มีการอุดกั้นทางเดินปัสสาวะ
อาการ
ในรายที่น้ำเกิดเฉียบพลันจะปวดศรีษะ คลื่นไส้ อาเจียน
เกิดจากการมีสมองบวม อาจมีชักกระตุก ความดันโลหิตสูง
ม่านตาขยายไม่เท่ากัน ไม่รู้สึกตัว
อาการเด่นชัด
บวม
น้ำท่วมปอด
สมดุลอิเลคโทรลัยท์
อิเลคโทรลัยท์ในร่างกายกระจายอยู่ตามน้ำนอกเซลล์ เเละน้ำในเซลล์ ผนังเซลล์มีคุณสมบัติSemipermeableคือยอม ให้สารบางชนิดผ่านได้ บางชนิดไม่ให้ผ่าน
ความผิดปกติในสมดุลของโซเดียม
ชนิดของสารละลายเเละลักษณะความผิดปกติในสมดุลน้ำเละโซเดียม
Hypotonic solution
ขาดทำให้เกิดHypertonic(dehydration)
ได้รับมากเกินทำให้เกิดWater intoxicationหรือHypotonic(overhydration
Isotonic solution
ขาดทำให้เกิดIsotonic(Dehydration)
ได้รับมากเกินIsotonic(overhydration)
Hypertonic solution
ขาดทำให้เกิดHypotonic(Dehydration)
ได้รับมากเกินทำให้เกิดHypertonic(overhydration)
ความผิดปกติในสมดุลของโซเดียมร่วมกับความผิดปกติในสมดุลของน้ำ
Hyponatremia(HypertonicหรือHypoosmotic)overhydration/hypervolemia
ภาวะที่มีโซเดียมในเลือดต่ำร่วมกับมีน้ำเกิน
Hypernatremia(HypertonicหรือHypoosmotic)isovopemic
ภาวะที่มีโซเดียมในเลือดสูงโดยมีปริมาตรน้ำปกติ
Hyponatremia(HypotonicหรือaHypostomotic)dehydration/hyperpovolemia
ภาวะที่มีโซเดียมในเลืดต่ำร่วมกับภาวะขาดน้ำ
Hypernatremia(HypertonicหรือHypoosmotic)dehydration/hypovolemia
ภาวะที่มีโซเดียมในเลือดสูงร่วมกับภาวะขาดน้ำ
Hyponatremia(HypotonicหรือHypoostomotic)isovolemic
ภาวะที่มีโซเดียมในเลือดต่ำโดยมีปริมาตรน้ำปกติ
Hypernatremia(HypertonicหรือHypoosmotic)overhydration/hypervolemia
ภาวะที่มีโซเดียมในเลือดสูงร่วมกับมีน้ำเกิน
ภาวะที่มีโซเดียมในเลือดต่ำHyponatermia
ปริมาณโซเดียมลดลงโดยมีปริมาตรน้ำนอกเซลล์คงที่
การสูญเสียจากทางเดินอาหาร
ท้องเสีย
รูที่กระเพาะอาหาร
อาเจียน
ปริมาณโซเดียมลดลงเเละมีน้ำนอกเซลล์เพิ่มขึ้น
มักจะเกิดจากการสูญเสียน้ำเเละโซเดียมไปพร้อมๆกันเเต่ได้รับน้ำที่ไม่มีโซเดียมมาทดเเทน
ปริมาณของโซเดียมคงเดิมเเต่ปริมาณน้ำนอกเซลล์เพิ่มขึ้นเช่นมี non-electrolyteเพิ่มขึ้นในพลาสม่า
ยูเรีย
น้ำตาล
พยาธิสภาพของHyponatremia
เกิดจากน้ำเคลื่อนที่จากนอกเซลล์เข้าไปในเซลล์ ทำให้เซลล์บวม
อาการทางสมอง
เวียนศรีษะ สับสน ไม่ค่อยรู้สึกตัว ชัก หมดสติ
ภาวะที่มีโซเดียมในเลือดสูงHypernatermia
อาการบวม
มีน้ำคั่งในช่องท้อง
ท้องมาน
ปัจจัยที่มีผลต่อการซึมผ่านของน้ำ
Permeaabilityของหลอดเลือด
เเรงดันที่กระทำต่อหลอดเลือด
น้ำจากหลอดเลือดเข้าสู่ช่องระหว่างเซลล์
Capillary colloidal osoticpressure
ดึงน้ำไว้ในหลอดเลือด เนื่องจากโปรทีนจะมีโมเลกุลใหญ่กว่ารูของผนังหลอดเลือดฝอย
Interstitial hydrostatic pressure(Pi)
เเรงดันนี้มีค่าเป็นลบ เเรงดันน้เป็นลบส่วนนั้นส่วนหนึ่งเกิดจากเเรงดึงดูดจากท่องน้ำเหลืองที่ตั้งต้นบริเวณนี้โดยจะดึงน้ำในช่องว่างระหว่างเซลล์เข้าสู่ท่อน้ำเหลืองเสมอ
Capillary hydrostatic pressure(Pc)
เเรงดันให้น้ำออกจากหลอดเลือด
Interstitial colloidal osmotic pressure
เป็นเเรงดันน้ำไว้ในช่องระหว่างเซลล์
เเรงดันนี้จะเพิ่มขึ้นถ้ามีหลอดเลือดขยาย
เกิดจากการอักเสบ จึงทำให้โปรทีนออกจากหลอดเลือดมากขึ้น
จลน์ศาสตร์การไหลเวียนบริเวณหลอดเลือดฝอย
มีโปรทีนในเลือดต่ำ
ตับเสียหน้าที่ในการสร้างโปรทีน
โรคตับเเข็ง
มะเร็งตับ
ตับอักเสบ
มีการอุดตันของทางเดินน้ำเหลือง
ต่อมน้ำเหลืองอักเสบ
โรคเท้าช้าง
สาเหตุจากหลอดเลือดvascular factors
มีการขยายตัวของหลอดเลือด
การบาดเจ็บของเนื้อเยื่อจากการกระทบกระเเทกสารเคมี
มีเเรงดันในหลอดเลือดเพิ่มขึ้น
การอุดตันของหลอดเลือดดำจากเนื้องอกที่มากดทับ โรคหัวใจ
มีการคั่งของน้ำเเละโซเดียมในร่างกาย
โรคไตวาย
ความผิดปกติในสมดุลของโปตัสเซียม
การควบคุมสมดุลของโปตัสเซียมอาศัย
การควบคุมที่ไต
ผ่านการกรองไตเเละดูดกลับไปพร้อมๆกับโซเดียมเเละน้ำ
ผลของฮอร์โมนAlodosterone ที่ทำให้เกิดการดูดกลับโซเดียมเเละน้ำไปพร้อมๆกับการขับเพิ่มโปตัสเซียม
การเคลื่อนที่ของโปตัสเซียมเข้าเเละออกเซลล์
ฮอร์โทนอินสุลิน Epinephrine
โปตัสเเซียมเคลิ่อนที่เข้าเซลล์ได้มากขึ้น
ภาวะโปตัสเซียมในเลือดต่ำHypokalemia
สาเหตุ
มีระดับอินสูลินมากเเละภาวะที่ร่างกายเป็นด่าง
สูญเสียโปตัสเซียมทางปัสสาวะมาก
รับประทานอาหารที่มีโปตัสเซียมน้อย
อาการ
ท้องอืด เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก
หัวใจเต้นผิดปกติ
กล้ามเนื้ออ่อนเเรง
เมื่อยล้า
อาจมีอาการกดเจ็บ
ระดับกลูโคสในเลือดสูงขึ้นเล็กน้อย
ถ้ามีHypokalemiaรุนเเรง
กล้ามเนื้อหายใจอ่อนเเรง การหายใจล้มเหลวเสียชีวิตได้
ภาวะโปตัสเซียมในเลือดสูงHyperkalemia
สาเหตุ
มีโปตัสเซียมออกจากเซลล์เพิ่มขึ้น
โปตัสเซียมเข้าเซลล์ได้น้อยลง
โรคเบาหวาน
ได้รับโปตัสเซียมมากเกินไป
ขับโปตัสเซียมออกจากปัสสาวะน้อยลง
ผลของHyperkalemia
เพิ่มExcitability ทำให้เซลล์กระตุ้นได้ไวเเต่กลับทำให้เเรงในการหดตัวของกล้ามเนื้อลดลง
ความผิดปกติในสมดุลของฟอสเฟต เเคลเซียม เเละเเมกนีเซียม
การรักษาสมดุลของเเคลเซียมในเลือดอาศัย
Vitamin D
Calcitonin
Parathyroid hormone
ภาวะHypocalcemia
สาเหตุ
มีเเคลเซียมในรูปอิสระลดลง
ภาวะที่มีร่างกายเป็นด่าง จะมจับกับโปรตีนได้มากขึ้น เป็นผลให้เเคลเซียมลดลงได้
ได้รับเเคลเซียมจากอาหารเเละมีการดูดซึมเเคลเซี่ยมจากทางเดินอาหารลดลง
การเคลื่อนย้ายเเคลเซียมระหว่างกระดูกเเละในกระเเสเลือด
ภาวะHypoparathyroidism
ภาวะร่างกายไม่ตอบสนองต่อPathyroid hormone
การดูดกลับเเคลเซียมที่ไตลดลง
เกิดจากภาวะที่ขาดParathyroid hormone
อาการ
อาการชัก
ตะคริว มือจีบ
อาการทางประสาท
รู้สึกชาเหมือนเป็นเหน็บ
มักเกิดบริเวณรอบปาก
ปลายมือ ปลายเท้า
อาการทางระบบหัวใจ เเละหลอดเลือด
พบในผู้ป่วยที่มีภาวะเเคลเซียมต่ำมากๆ
ภาวะHypercalcemia
สาเหตุ
มะเร็ง
วัณโรค
ภาวะHyperparathyroidism
อาการ
ปัสาสาวะบ่อย
หิวน้ำบ่อย
อาเจียน เบื่ออาหาร ท้องผูก
ในรายที่รุนเเรงพบอาการชึม ชัก หรือหมดสติ
ภาวะHypophosphatemia
สาเหตุ
การได้รับฟอสเฟตจากทางเดินอาหารน้อยลง
ได้รับจากยากลุ่มGlucocorticoid ขาดวิตามินD
มีการสูญเสียฟอสเฟตทางปัสสาวะมาก
โรคทางพันธุกรรม
โรคไตวาย
โรคความดันโลหิตสูง
มีการเคลื่อนที่ของฟอสเฟตจากพลาสม่าเข้าสู่เซลล์
ในภาวะด่างจากการหายใจ ทำให้เกิดHypophosphatemiaได้ภายใน1ชั่วโมง
อาการ
เกิดจากการขาดATP
ชา
สับสน
หมดสติ
เสียชีวิต
ภาวะHyperphosphatemia
เนื่องจากไตมีความสามารถในการขับฟอตเฟตออกทางปัสสาวะได้มากจึงเกิดความผิดปกติที่ไตหรือมีอัตราการกรองที่ไตร่วมด้วยเสมอ
กรณีที่มีการบาดเจ็บเเละตายของเซลล์ในร่างกายจำนวนมาก
ในภาวะที่ได้รับกการรักษาด้วยยาเคมีบำบัด
อาการ
ตะคริว
ชัก
ภาวะHypomagnesemia
สาเหตุ
การได้รับอาหารน้อยกว่าปกติเนื่องจากจะการสูญเสียเเมกนีเซียมไปทางเดินอาหารเสมอ
พบในเด็ก วัยเจริญเติบโต
หญิงตั้งครรภ์
อาการ
เดินเซ
วิงเวียน
หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ภาวะHypermagnesemia
สาเหตุ
การได้รับเเมกนีเซียมในปริมาณมาก ในเวลาสั้นๆ
ได้รับจากการกิน
การให้ทางหลอดเลือด
การสวนทวารหนัก
อาการ
เริ่มด้วยความดันโลหิตต่ำ
อาการทางประสาท
มีผลยับยั้งการหลั่ง
Acetylcholineจากปลายประสาท
ความผิดปกติในสมดุลของกรด-ด่างในร่าง
กาย
กรด
Volatile acid
สามารถระเหยได้ Volatile acid ในร่างกายมีชนิดเดียวคือCarbonic
สามารถระเหยได้ Volatile acid ในร่างกายมีชนิดเดียวคือCarbonic
Nonvolatile acid
Citric acid
Pyruvic acid
Lactic aciddsd
Uric acid
กลไกที่ใช้ปรับพีเอชของร่างกาย
ระบบบัฟเฟอร์
ขับไฮโดรเจนในรูปของTitratable acid
ไต
เซลล์ผนังหลอดไตสร้างเเอมโมเนียจากกรดอมิโนชื่อกลูตามีน
ระบบหายใจ
ความผิดปกติในสมดุลของกรด-ด่าง
Respiratory acidosis
เป็นภาวะกรดที่เกิดจากการมีVolatile acidมาก
Metabolic alkalosis
เป็นภาวะด่างที่เกิดจากการมีNonvolatileน้อย
Respiratory alkalosis
เป็นภาวะด่างที่เกิดจากการมีVolatile acidน้อย
Metabolic acidosis
เป็นภาวะกรดที่เกิดจากการมีNonvolatile acidมาก