Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาปฏิชีวนะ (Antibiotics) - Coggle Diagram
ยาปฏิชีวนะ (Antibiotics)
การแบ่งชนิดของเชื้อแบคทีเรีย
• การย้อมติดสี
Gram-positive (+) ; ผนังเซลล์ย้อมติดสีม่วง/น้้าเงิน
Gram-negative (-) ; ผนังเซลล์ย้อมติดสีชมพู/แดง
• รูปร่าง
Coccus
Bacillus/Rod
Spirillum
• ความต้องการใช้ Oxygen
Aerobic
Anaerobic
Facultative
ความสามารถในการออกฤทธิ์ของยา (spectrum)
• Narrow spectrum (ออกฤทธิ์แคบ)
ออกฤทธิ์จ้าเพาะต่อแบคทีเรีย G (+) หรือ G (-)
ใช้ในการติดเชื้อจ้าเพาะ (เมื่อรู้เชื้อที่เป็นสาเหตุ)
เช่นยากลุ่ม Macrolides, Vancomycin
• Broad spectrum (ออกฤทธิ์ได้กว้าง)
การรักษาแบบครอบคลุมเชื้อที่คาดว่าจะเป็นสาเหตุ
ใช้เมื่อเกิดการติดเชื้อแบคทีเรียหลายชนิด
เช่นยากลุ่ม Aminoglycosides, 2nd ,3rd ,4th ,5th Cephalosporins, Quinolones, Carbapenem, Chloramphenicol, Tetracyclines
• Extended spectrum
มีผลต่อทั้ง Gr (+) และ Gr (-)
การเลือกใช้ยาต้านเชื้อแบคทีเรีย
• Empirical antimicrobial therapy**
• Unknown type of infective pathogens
• Unknown susceptibility
• Definitive (Specific) Therapy**
• Antimicrobial therapy of infection with known origin
• Known type of infective pathogens/ susceptibility
• Choose the right drug for right pathogen (choose narrow spectrum)
• >>> Ideal
ยาต้านเชื้อแบคทีเรีย: Antibiotic drugs
ยับยั้งการสร้างผนังเซลล์ (cell wall)
1.1 Beta-lactam
a. Penicillins
Natural Penicillins
• Penicillin G (ไม่ทนกรด ไม่ให้กิน), Penicillin V (ทนกรด มีแบบกิน)
• มีฤทธิ์ต้านเชื้อได้มากต่อ Gr(+), Gr (-) esp cocci (N. meningitis), anaerobes
• มีฤทธิ์ต้านเชื้อได้น้อยต่อ Gr(-) rods
• ถูกท้าลายโดย Beta-lactamases ได้ง่าย
Uses
Streptococcal infection
Dental infection
Leptospirosis infection
Syphilis
Prevent recurrent of rheumatic fever
• ตัวอย่าง
Penicillin G (ยาฉีด: IM/IV)
Penicillin G procaine (IM only)
Penicillin G benzathine
Penicillin V (ยากิน/ยาฉีด)
• ADR
Hypersensitivity
Seizure อาจเกิดในผู้ป่วยไตบกพร่อง
Diarrhea/Nausea
Penicillinase-resistant penicillins (Anti-staphylococcal)
• Cloxacillin (PO, IV, IM), Dicloxacillin (capsules 250, 500 mg)(ดูดซึมและกระจายตัวไปส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้ดีกว่า Cloxa.)
• ทนต่อ Staphylococcal beta-lactamases
• ออกฤทธิ์ต้านเชื้อ Staphylococci เป็นหลัก (พบมากบริเวณผิวหนัง, เยื่อบุ)
Drug of choice (DOC) ของ Staphylococcus aureus **
ADR (คล้ายกลุ่ม Natural Penicillins)
• อาหารท้าให้ยาถูกดูดซึมช้าลง ควรทานก่อนอาหาร ครึ่ง-1 ชม.**
• Cloxacillin inj ควรให้ IV infusion > 60 min เพื่อลดอาการปวดและphlebitis**
Aminopenicillins
• Amoxicillin (oral)
• Ampicillin (ยาฉีด/ยากิน)
• ยากลุ่มนี้ถูกท้าลายโดย Penicillinase ได
Uses
Upper respiratory tract infection** (esp. Amoxicillin)
Uncomplicated urinary tract infection
Meningitis: Ampicillin + 3rd cephalosporin
ADR ที่ส้าคัญได้แก่ ท้องเสีย, Hypersensitivity reaction** (Urticaria,
anaphylactic shock, Steven Johnson Syndrome (SJS) เป็นต้น)
Extended-spectrum penicillins
• Piperacillin*, Ticarcillin
• ครอบคลุมเชื้อ G(+), G(-) esp. Pseudomonas aeruginasa (พบมากในโรงพยาบาล), anaerobes
• ไม่ทนกรดในกระเพาะอาหาร >> IV or IM
• Uses : รักษาการติดเชื้อในโรงพยาบาล (nosocomial infection) :
Pseudomonas infections (+ Aminoglycosides)
Beta-lactam/Beta–lactamase inhibitors
• Amoxicillin + Bata-lactamase inhibitor (Clavulanic acid/Sulbactam/Tazobactam)
• ใช้กับเชื้อที่ดื้อยาโดยการสร้างเอนไซม์ bata-lactamase
• จึงออกฤทธิ์ได้กว้างขึ้น ครอบคลุมเชื้อได้มากขึ้น
ADR ท้องเสีย**Ampicillin+Sulbactam (Unasyn®) Amoxicillin+Clavulanic acid (Amoksiklav®, Augmentin®) Piperacillin+Tazobactam (Zosyn®)
b. Cephalosporins
First (1st) Gen. - Fifth (5th) Gen.
ยากลุ่ม Cephalosporins ทนต่อ betalactamase ได้หลายชนิดกว่ายากลุ่ม penicillins จึงมีฤทธิ์ครอบคลุมเชื้อได้กว้างกว่า
ละลายน้้าได้ดี ทนต่อ pH และอุณหภูมิ (ส่วนใหญ่มักท้าเป็นยาฉีด)
1b. First (1st) Gen. Cephalosporins
• Cephalexin (PO)
• Cefazolin (IV)
• นิยมใช้กับการติดเชื้อที่ผิวหนัง เด่น Gr (+) และ UTI
• Cefazolin ใช้ป้องกันการติดเชื้อก่อนผ่าตัด**
2b. Second (2nd) Gen. Cephalosporins
• Cefaclor (PO) = อาหารมีผลต่อการดูดซึม
• Cefuroxime (IV) = อาหารเพิ่มการดูดซึม
• เพิ่มฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อ Gr (-) มากขึ้น
• Cefoxitin ฆ่าเชื้อ anaerobes ได้ (มักใช้ในการติดเชื้อในช่องท้อง)
3b. Third (3rd) Gen. Cephalosporins
ส่วนใหญ่ครอบคลุมทั้งเชื้อ Gr (+) และ (-)
• Cefdinir (PO) = ใช้ใน URI (ในเด็ก), อุจจาระเป็นสีแดงจากการจับกับเหล็ก*
• Cefotaxime* (IV)
• Ceftriaxone* (IV) = ใช้บ่อยมากที่สุดในรพ. (ติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ/ปอดอักเสบ)
• Ceftazidime* (IV) = ครอบคลุมเชื้อ Pseudomonas (เชื้อที่พบบ่อยในโรงพยาบาล)
• Cefoperazone/Sulbactam
(IV) = คลุม Pseudomonas, เกิดthrombocytopenia
4b. Fourth (4th) Gen. Cephalosporins
• Cefepime (IV)
• Cefpirome (IV)
5b. Fifth (5th) Gen. Cephalosporins
• Ceftobiprole (IV)
• ครอบคลุมเชื้อได้กว้าง
• ออกฤทธิ์ต่อ MRSA
c. Carbapenems
Doripenem, Imipenem
Ertapenem, Meropenem
ออกฤทธิ์ต่อ Gr(+), (-), anaerobes
ยาทุกตัวทนต่อ ESBLs (Extended Spectrum Beta-Lactamases) ได้
Uses : รักษาการติดเชื้อที่อวัยวะต่างๆ, รักษา mixed infection ในรพ.
Doripenem (IV) ครอบคลุมเชื้อ Pseudomonas ขับออกทางไตเป็นหลัก (ปรับขนาดยาในผู้ป่วยโรคไต) แต่ยังไม่ครอบคลุม MRSA** (Methicillin-resistant Staphylococcus aureus)
Imipenem ท้าให้ชักได้มากที่สุด**, ถูกท้าลายอย่างรวดเร็วจึงต้อง + Cilastin
d. Monobactams
Aztreonam (Bactericidal)
ทนต่อ B-lactamases
ฆ่าเชื้อ Pseudomonas (เชื้อก่อโรคในโรงพยาบาล)ได้, Klebseilla,Serratia
ไม่มี cross-allergenicity กับ Penicillin
1.2 Vancomycin
ดูดซึมได้ไม่ดี จึงท้าให้อยู่ในรูปยาฉีด (IV)
คลุม G (+) ทุกชนิดสงวนไว้ใช้MRSA (Methicillin Resistant S.aureus**)
รักษา Clostidium difficile infection เช่น pseudomembranous colitis (เลือกอันดับรองจาก metronidazole)
เลือกใช้กรณี ผู้ที่แพ้ยากลุ่มที่มีโครงสร้าง Beta-lactam
• ADRs (อาการไม่พึงประสงค์)
Ototoxicity* (พิษต่อหูเกิดเมื่อได้ขนาดยาสูง)
Nephrotoxicity* (พิษต่อไต โอกาสเกิดมากขึ้นเมื่อให้ร่วมกับยากลุ่มaminoglycoside)
“Red man syndrome”** (หน้าแดง, ความดันต่ำ)
Phlebitis (หลอดเลือดด้าอักเสบ)
1.3 Fosfomycin
คลุมเชื้อ Gr(+), Gr(-)
ใช้รักษา Multidrug resistance : S. aureus, Pseudomonas aeruginosa,E. coli, Proteus sp., Klebseilla และ Serratia marcescens
ADRs: ตับอักเสบ, N/V,
ท้องเสีย, Phlebitis
1.4 Cycloserine
ครอบคลุมเชื้อ G (+) และ (–)
ใช้รักษา TB (เมื่อใช้ยาหลักไม่ได้ผล)
ADRs: มีพิษต่อระบบ CNS, ปวดศีรษะ
1.5 Teicoplanin
1.6 Bacitracin
ไม่ถูกดูดซึมจากทางเดินอาหาร
ใช้เป็นยาภายนอก เนื่องจากมีพิษต่อไต
ระบบประสาท ไขกระดูก
รูปแบบยา Bacitracin ointment(+ polymyxin or neomycin)
1.7 Daptomycin
-ครอบคลุมเชื้อคล้าย Vancomycin ใช้ในกรณีที่ไม่สามารถใช้ Vancomycin ได้
-ADRs: myopathy, hyper/hypotension
ยับยั้งการสร้างโปรตีน
50s = Macrolides, Lincosamides, Chloramphenicol, Fusidic acid
30s = Aminoglycosides, Tetracyclines
ยับยั้งการสร้างกรดนิวคลิอิก (Nucleic acid)
Quinolones (ชื่อกลุ่ม), Rifampicin, Sulfonamide, Trimethoprim,
Metronidazole
ยารบกวนการท้างานของเยื่อหุ้มเซลล์ (cell membrane)
Amphotericin B, Colistin, Polymixin B
ยาต้านเชื้อแบคทีเรีย: Antibacterial drugs
ยับยั้งการสร้างผนังเซลล์ (cell wall)
Beta-lactam, Vancomycin, Fosfomycin, Cycloserine,
Teicoplanin, Daptomycin, Bacitracin
ยับยั้งการสร้างโปรตีน
2.1 (-30s) = Tetracycline, Aminoglycosides (AMGs)
2.2 (-50s) = Macrolides, Chloramphenicol, Lincosamides, Fusidic acid
2.1 Tetracyclines
Tetracycline, Doxycycline*, Minocycline, Tigecycline
ยาดูดซึมน้อยเมื่อให้ร่วมกับ divalent ion products: นม แคลเซียม แมกนีเซียมantacid**
คลุม G +/-, anaerobes, rickettsiae, chlamydiae, mycoplasmas,
Protozoa
ยาดูดซึมได้ดีในทางเดินอาหารเมื่อให้ตอนท้องว่าง (ยกเว้น Doxycycline,
Minocycline)
Uses : หนองในเทียม, สิว, Leptospirosis, Scrub typhus
ห้ามใช้ในเด็กที่อายุต่้ากว่า 15 ปี (ยาสะสมในกระดูกและฟัน กดการเจริญเติบโต)
ห้ามใช้สตรีมีครรภ์/ให้นมบุตร
ADRs: N/V (ทานพร้อมอาหาร), ท้องเสีย, photosensitivity (Doxycycline)
Fanconi’s Syndrome (Expired Tetracycline)
2.1. Aminoglycosides (AMGs)
Amikacin
, Gentamicin
, Streptomycin*, Kanamycin (PO)
มักไม่ใช้เป็นยาเดี่ยว (ใช้ร่วมกันเพื่อเสริมฤทธิ์กับยากลุ่มอื่น)
ใช้เดี่ยวๆ ได้กรณีเดียวคือใช้รักษา UTI (ยาขับออกทางไต)
ครอบคลุม G+(cocci); Staphylococci : + Cloxacillin, + Vancomycin
Enterobactericeae : + Penicillin,Ampicillin
P. aeruginosa: Gentamicin, Amikacin+B-lactam
Streptomycin มีผลต่อเชื้อ Mycobacteria ใช้รักษา TB (วัณโรค) ได้
อาการไม่พึงประสงค์ (ADRs)
Nephrotoxicity* 10-12% (พิษต่อไต) เกิดแบบผันกลับได้ (reversible) มักจะเกิดเมื่อใช้ยาติดต่อกันนานกว่า 10 วัน
Ototoxicity* 1-5% (พิษต่อหู) เกิดแบบผันกลับไม่ได้ (irreversible) ความเป็นพิษจะเกิดมากเมื่อใช้ร่วมกับ Furosemide, Vancomycin
Neuromuscular blockage ท้าให้เกิด paralysis ได้ (อัมพาต)
2.2.Macrolides
Erythromycin, Roxithromycin, Clarithromycin, Azithromycin
ใช้แทนกรณี Hypersensitivity ต่อ B-lactam (esp. RTIs)
Uses
Upper RTIs : Pharyngitis,Tonsillitis*
Lower RTIs : Pneumonia
Clarithromycin, Azithromycin :ป้องกันและรักษา Mycobacterium Avium Complex (MAC)
Erythromycin, Azithromycin :
Chlamydia trachomatis
ADRs: Erythro. เกิด N/V* (รับประทานหลังอาหารทันที), ท้องเสีย
2.3 Lincosamides
Lincomycin
(IV), Clindamycin
(PO, IV, topical )
ครอบคลุมเชื้อ G(+) ส่วนใหญ่ , anaerobes บางตัว
เป็นทางเลือกกรณีแพ้ Penicillin** และแพ้ยากลุ่ม sulfa
Clindamycin PO : มีผลต่อเชื้อ S. aureus (MSSA)
ADRs: ท้องเสีย*, pseudomembranous colitis
Uses
Anaerobic infection :
Staphylococcal & Pneumococcal infection
Pneumocystis jeroveci Pneumonia (PCP) :+ primaquine
Toxoplasmosis : + pyrimethamine
2.4 Chloramphenicol
ปัจจุบันนิยมใช้รูปแบบยาฉีด และยาใช้ภายนอก (ยาหยอดตา/หู)
ห้ามใช้ในหญิงมีครรภ์และเด็ก เนื่องจากเกิด Gray-baby syndrome* (ตับยังทำงานไม่สมบูรณ์)
ADRs : กดไขกระดูก,aplastic anemia*,thrombocytopenia, Hemolytic anemia (จึงมีการใช้น้อยเนื่องจาก ADRs รุนแรง)
2.5 Fusidic acid
ออกฤทธิ์ได้ดีต่อเชื้อ G (+)
นิยมใชšรูปแบบ Topical, Eye gel
ใช้ร่วมกับยาอื่น เช่น amingoglycoside (ใช้เดี่ยวๆ จะดื้อยาเร็ว)
ยับยั้งการสร้างกรดนิวคลิอิก (Nucleic acid)
Quinolone, Sulfonamide, Trimethoprim, Metronidazole,
Rifampicin
ยารบกวนการท้างานของเยื่อหุ้มเซลล์ (cell membrane)
Colistin and Polymyxin B, Amphotericin B
ยาต้านเชื้อแบคทีเรีย: Antibacterial drugs
ยับยั้งการสร้างผนังเซลล์ (cell wall)
Beta-lactam, Vancomycin, Fosfomycin, Cycloserine,
Teicoplanin, Daptomycin, Bacitracin
2.ยับยั้งการสร้างโปรตีน
2.1 (-30s) = Tetracycline, Aminoglycosides
2.2 (-50s) = Macrolides, Chloramphenicol, Clindamycin, Fusidic acid
Quinolone, Sulfonamide, Trimethoprim, Metronidazole,
Rifampicin
3.1 Quinolones (Fluoroquinolones: FQ)
Gen. 2 Norfloxacin, Levofloxacin, Ofloxacin, Ciprofloxacin
Gen. 3 Gatifloxacin (ถูกถอนทะเบียนตำรับ), Moxifloxacin
Gen. 4 Trovafloxacin (ถูกถอนทะเบียนตำรับ)
3.2 Antifolate drugs
Sulfonamides, Trimethoprim
Sulfonamides
ครอบคลุมเชื้อ
G (+) cocci : Streptococci, Staphyloccoci (not enterococci)
G (-) bacilli : Enterobactericeae, Serratia, Enterobacter, Citrobacter, Salmonella typhi (not pseudomonas)
แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม ตามคุณสมบัติการดูดซึมและการออกฤทธิ์
1)Short or medium acting : Sulfamethoxazole (SMX)*,Sulfadiazine
2)Long acting : Sulfadoxine
3)Not well GI absorbed (treat GI infection) : Sulfasalazine*
4)Topical Sulfonamide : Sulfacetamide
, Silver Sulfadiazine
Uses**
PO (SMX-TMP)
: UTIs, Toxoplasmosis
, Pneumocystis jeroveci Pneumonia: PCP* (เชื้อฉวยโอกาส)
Topical sulfonamides : Ophthalmic infection (Sulfacetamide)
: Burn (Silver sulfadiazine*)
ห้ามใช้ในผู้ที่มีประวัติการแพ้ยาในกลุ่ม sulfa
ADRs : เกิดผื่นแพ้ได้ง่าย (3-5%) : SJS, Exfoliative dermatitis, นิ่วในทางเดินปัสสาวะ (Crystalluria, ต้องดื่มน้ำตามมากๆ
), กดไขกระดูก
3.3 Metronidazole
ออกฤทธิ์คลุม anaerobe, G (ı) เด่น*,ใช้ร่วมกับยาอื่นในการรักษา
IV / PO
ADRs: N/V 12% (แก้โดยให้กินพร้อมอาหาร)
, เกิด disulfiram-like reaction
(2-24%) เมื่อกินร่วมกับ alcohol
3.4 Rifampicin (ใช้รักษาวัณโรคเป็นหลัก)
ยารบกวนการทำงานของเยื่อหุ้มเซลล์ (cell membrane)
Colistin and Polymyxin B, Amphotericin B
4.1 Colistin and Polymixin B
รักษาการติดเชื้อในโรงพยาบาล (Acinetobacter baumanii)
Nephrotoxicity 8-27% (พิษต่อไต) เกิดแบบผันกลับได้ (reversible)
Neurotoxicity 7-29% เกิด Neuromuscular blockage ได้
การเลือกใช้ยาต้านเชื้อแบคทีเรีย
• การจะใช้ยาใดในการรักษาการติดเชื้อขึ้นอยู่กับ
-บริเวณที่เกิดการติดเชื้อ
-ชนิดของเชื้อก่อโรค
• การใช้ยาในการป้องกันการติดเชื้อ
-การติดเชื้อจากเชื้อเฉพาะ เช่น ต้องไปสัมผัสกับผู้ป่วย/ไปบริเวณที่ระบาด
-surgical wound
กลไกการดื้อต่อยา (Resistance)
• การสร้างเอนไซม์โดยเชื้อจุลชีพเพื่อทำลายยา เช่น B-lactamase (eg. Penicillinase) ทำลายยา Penicillins**
• การเปลี่ยนแปลงการผ่านเข้าออกของยาในเซลล์
• การเปลี่ยนโครงสร้างของบริเวณที่ยาไปออกฤทธิ์ เช่น มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของ ribosome บริเวณที่ยามาจับ
• การเปลี่ยนแปลงกระบวนการ metabolism