Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยติดสารเสพติด, : - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยติดสารเสพติด
สุรา(alcohol)
withdrawal
การพยาบาล
วัด v/s
ประเมินภาวะความรุนแรงด้วย CIWA-Ar scale ทุก 1 ชม.
เฝ้าระวังและสังเกตอาการใกล้ชิด 24 ชั่วโมง
reality orientation
สิ่งแวดล้อมที่สงบ ลดสิ่งกระตุ้น
เหงื่อแตก ชีพจรเต้นเร็ว ความดันโลหิตสูง กระวนกระวาย นอนไม่หลับ เพ้อสับสน ระแวง ประสาทหลอน ชัก
intoxication
การพยาบาล
พักผ่อนอย่างเพียงพอ
เฝ้าระวังการเกิดอุบัติเหตุจากการหกล้ม
ประเมินภาวะความรุนแรง
กรณีวุ่นวาย ไม่สงบอาจให้ Diazepam 5-10 มก.ทางvein
กล้ามเนื้อทำงานไม่สัมพันธ์กันเดินเซ พูดอ้อแอ้ มองเห็นภาพไม่ชัด แขนขาเกร็ง
กลไกออกทธิ์
กระตุ้นที่ตัวรับ GABA และออกฤทธิ์ยับยั้งที่ตัวรับ glutamatergic NMDA และ kainate glutamate เพิ่มการหลั่งโดปามีน
Sadetive
Intoxication
กดประสาทส่วนกลางทำให้ขาดความสามารถยับยั้งชั่งใจรักษาแบบประคับประคอง
Withdrawal
มีอาการนอนไม่หลับ กังวล รักษาโดย diazepem,benzodiazepine ,clonazepam
Inhalant(สารระเหย)
Intoxication
เวียนหัว ตาพร่า พูดไม่ชัด กระตุก เชื่องช้า สั่น กล้ามเนื้ออ่อนแรง ก้าวร้าว
รักษา
ประคับปรคอง เฝ้าดูอาการอย่างใกล้ชิด ห้ามใช้ยาBenodizapine เพราะจะทำให้อาการแย่ลง
Opioid
Intoxication
ครื้นเครง หงุดหงิด สมาธิและความจำลดลง หายใจช้าลง ม่านตาหด ความดันเลือดต่ำลง
รักษา
ในกรณีover dose ให้naloxoneเข้าiv
withdrawal
คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ปวดเมื่อยตามตัว เหงื่ออก หาวบ่อย ขนลุก น้ำมูกน้ำตาไหล
ให้methadone กิน20-30mg 2wks-1m.และค่อยๆลดลง | ระวังการหายใจ
การรักษา
Clonidine,buprenorphine detoxificationอมใต้ลิ้นเหมือนmethadone
สูบบุหรี่ (tobacco)
กลไกออกทธิ์
กระตุ้นการทำงานของตัวรับนิโคติน (nicotine receptor) ทำให้มีการเพิ่มการทำงานของระบบประสาทโคลิเนอร์จิก มีผลทำให้เพิ่มการปล่อยโดปามีนบริเวณนิวเคลียสเอคคัมเบน
intoxication
การพยาบาล
ประเมินภาวะความรุนแรงของภาวะเป็นพิษของบุหรี่
วัด v/s
ดูแลให้ได้รับอาหาร น้ำ สารอาหารและยาตามอาการ
ความรู้สึกต่าง ๆ ช้าลง ความดันโลหิตสูงขึ้น หัวใจเต้นเร็ว โมโหง่ายผิดปกติ และไม่เป็นจังหวะชีพจรเต้นช้า
withdrawal
การพยาบาล
จัดให้อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่สงบ ลดสิ่งกระตุ้น
ดูแลให้ได้รับยา เช่น Nicorette, Nicotinell TTS หรือ ยา Buproplon SP
ทำกิจกรรมเพื่อเบี่ยงเบนความสนใจ
ประเมินภาวะความรุนแรงของภาวะขาดบุหรี่
วัด v/s
ซึมเศร้า นอนไม่หลับ หงุดหงิด กระวนกระวาย โมโหง่าย วิตกกังวลนอนไม่หลับ ไม่มีสมาธิ ชีพจรเต้นช้า ความดันโลหิตต่ำ เหนื่อยง่าย อยากอาหาร ซึ่งใน 2-3 สัปดาห์แรก จะมีอาการรุนแรงมากที่สุด
คาเฟอีน(caffeine)
กลไกลออกฤทธิ์
หงุดหงิด อ่อนเพลีย ปวดหัว หน้าแดง ปัสสาวะบ่อย
Stimulant
Intoxication
สนุกสนานครื้นเครง ระวัง ทำซ้ำๆ ใจเต้นเร็ว ความดันสูง ชัก เพ้อ สับสน วุ่นวาย
รักษา
เน้นป้องกันการทำร้ายตัวเอง
จัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ
ให้diazepam 10-20mg IV
Haloperidol 2-5mg.IMการณีวุ่นวาย
withdrawal
อ่อนเพลีย กระสับกระส่าย นอนไม่หลับ หรือนอนมาก อยากอาหารเพิ่ม
รักษา
ให้ยาต้านเศร้า
กัญชา (cannabis)
intoxication
การพยาบาล
reality orientation
ประเมินภาวะความรุนแรง
สิ่งแวดล้อมที่สงบ ลดสิ่งกระตุ้น
ได้รับยาการรักษา diazepam 10-30 mg ทางvein หรือถ้ามีอาการ delirium รุนแรงให้ haloperidol 2-5 mg. ทาง IM ได้
หงุดหงิด ระแวง แยกตัว คอและปากแห้ง เจริญอาหารเพิ่มขึ้น
เยื่อบุตาแดง หัวใจเต้นเร็ว ไม่อยากทำอะไร อาการประสาทหลอนเห็นภาพ
กลไกออกทธิ์
กระตุ้นประสาท กดประสาทและหลอนประสาท ให้มีความสุขหลั่งสารโดปามีนแลนอร์เอพิเนฟรินออกมาจำนวนมาก
withdrawal
อารมณ์เศร้า โกรธก้าวร้าว วิตกกังวล นอนไม่หลับ ความอยากอาหารลดลง น้ำหนักลง
การพยาบาล
ประเมินภาวะความรุนแรง
ได้รับอาหาร น้ำ สารอาหารที่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
พักผ่อนอย่างเพียงพอ
สร้างสัมพันธภาพและความไว้วางใจ
ถ้าอาการรุนแรงให้ haloperidol 2-5 mg. ฉีดเข้ากล้ามเนื้อได้
Substance use disorder
การใช้สารที่ก่อให้เกิดความเสียหายแสดงออกมาอย่างน้อย12เดือน
ใช้สารจำนวนมากหรือระยะเวลานานกว่าที่ตั้งใจไว้
อยากมาก|มีแรงกระตุ้นการใช้สารนั้น
ต้องการต่อเนื่องหรือพยายามไม่สำเร็จในการลดหรือควบคุมสารนั้น
ใช้เวลากับการเสพสารนั้น
ใช้สารซ้ำหลายครั้งจนเสียหน้าที่บทบาท
ใช้สารแม้จะมีปัญหาทางด้านสังคมรอบข้าง
กิจกรรมทางสังคม การงาน การพักผ่อนลดลงหลังจากใช้สาร
ใช้สารต่อเนื่องแม้ร่างกายและจิตใจจะมีปัญหา
ดื้อยา
ต้องการมกาขึ้นเพื่อให้ได้อาการที่ต้องการ
ผลลดลงจึงใช้ยาเพิ่ม
มีอาการขาดยา
อาการขาดยา
ใช้สารบรรเทาอาการขาดยา
Substance related disorder
Induce mental disorder
มีอาการทางจิตเกิดขึ้น1เดือนของการใช้สารนั้นและไม่สามารถอธิบายโรคทางจิตเวชได้
: