Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่่ 3 ส่วนที่ใช้และองค์ประกอบที่สำคัญของพืชสมุนไพร, นางสาวอารยา…
บทที่่ 3 ส่วนที่ใช้และองค์ประกอบที่สำคัญของพืชสมุนไพร
สมุนไพรที่ใช้เป็นยารักษากระดูกและกล้ามเนื้อ
ใช้แทนยากลุ่มยา NSIADS เช่น dicrofenac
ได้แก่
ยาหม่องไพล
น้ำมันไพล
สหัศธารา
เจลพริก
ครีมไพล
สมุนไพรที่ใช้เป็นยาแก้ไข้และขับปัสสาวะ
แก้ไข้
จันทร์ลีลา
ใช้แทนยา Paracetamol
ขับปัสสาวะ
ได้แก่
อ้อยแดง
หญ้าหนวดแมว
สับปะรด
ตะไคร้
กระเจี๊ยบ
หญ้าคา
ขลู่
ใช้แทนยา ใช้แทน hydrochlorothiazide
อันตรกิริยาของยาสมุนไพร
คือ
อันตรกิริยา คือ ปฏิกิริยาทางเภสัชวิทยาระหว่างกันของสารทั้งสองชนิดทั้งในแง่ของการเปลี่ยนแปลงระดับของยาในร่างกายการต้านฤทธิ์ การเสริมฤทธิ์ การเพิ่มหรือลดผลข้างเคียงของยา การเกิดพิษ หรืออาจทำให้เกิดฤทธิ์ใหม
แบ่งเป็น
อันตรกิริยาทางด้านพลศาสตร์ (Pharmacodynamic interactions)
คือ
คือปฏิกิริยาที่มีผลเปลี่ยนแปลงฤทธิ์ของยาทั้งทางด้านชีวเคมีและสรีรวิทยา
อันตรกิริยาทางด้านเภสัชจลศาสตร์ (Pharmacokinetic interactions)
แบ่งเป็น
การขับยาออกจากร่างกาย (Excretion)
การเปลี่ยนแปลงยา (Metabolism)
Cytochrome P450 (CYP450)
Enzymatic induction
Enzymatic inhibition
การดูดซึมยา (Absorption)
เกิดสารประกอบที่ซับซ้อน (complex)
เพิ่มการเคลื่อนที่ผ่านทางเดินอาหาร (Increase GI mobility)
ลดการดูดซึม
เปลี่ยนแปลงระดับ pH
เพิ่มการดูดซึม
การกระจายยา (Distribution)
การกระจายตัวยาจากเลือดผ่านเนื้อเยื่อ (Permeability across barrier; P-glycoprotein)
การจับตัวของยา (drug binding; protein binding)
สมุนไพรที่ใช้เป็นยาแก้ไอ ขับเสมหะ
ได้แก่
ดีปลี (ผลแก่แห้ง)
เพกา (เมล็ด)
ขิง (เหง้าแก่)
มะขามป้อม (เนื้อผลแก่)
มะแว้งเครือ (ผลแก่สด)
มะขาม (เนื้อฝักแก่)
มะแว้งต้น (ผลแก่สด)
มะนาว (ผลสด)
สมุนไพรเพื่อความงาม
Antipollution
ได้แก่
ข้าว
ขมิ้นชัน
องุ่น
มะพร้าว
งา
มะกรูด
มะหาด
Anti-aging
ได้แก่
ผลแตงกวา
บัวบก
สารสกัดจากรำข้าว
ว่านหางจรเข้
ผลมะขามป้อม
Hair cosmetic
ได้แก่
ว่านมหาเมฆ
ขิง
มะกรูด
ทองพันชั่ง
อัญชัน
Anti-acne
ได้แก่
ชาเขียว
ไพล
สารสกัดเปลือกมังคุด
ยาเบญจโลวิเชียร
Nutricosmetic
ได้แก่
ผักหรือผลไม้สีแดง/เหลือง
ผักใบเขียว
ถั่วเหลือง
ถั่วเมล็ดและกรดไขมัน
สมุนไพรที่ใช้เป็นยาระบายและขับพยาธิ
ขับพยาธิ
ได้แก่
เล็บมือนาง
สะแก
มะเกลือ
มะขาม
ฟักทอง
ยาระบาย
แทนยาปัจจุบัน คือ Bicosadyl
ได้แก่
คูน
ขี้เหล็ก
ขิง
แมงลัก
กะเพรา
มะขามแขก
ยอ
มะขาม
ชุมเห็ดเทศ
การใช้กัญชาในทางการแพทย์
ทำไมต้องควบคุมการใช้กัญชาทางการแพทย์
โรคลมชักที่รักษายาก และโรคลมชักที่ดื้อต่อยารักษา (intractable epilepsy)
ภาวะปวดประสาท (neuropathic pain)
ภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็ง (spasticity) ในผู้ป่วยโรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง (multiple sclerosis)
ภาวะเบื่ออาหารในผู้ป่วย AIDS ที่มีน้ำหนักตัวน้อย
ภาวะคลื่นไส้อาเจียนจากเคมีบำบัด (chemotherapy induced nausea and vomiting)
การเพิ่มคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง
ข้อมูลการใช้กัญชาทางคลินิก
Safety: วิธีการสกัดการปนเปื้อน (สารหนู ยาฆ่าแมลง ยาฆ่าหญ้า เชื้อรา ฯลฯ) ข้อห้ามใช้ ยาอื่นที่
ใช้ร่วม
Quality: ถูกต้น, ถูกสายพันธุ์, ถูกส่วน, GAP, วิธีการสกัด, ปริมาณและสัดส่วนของสารสำคัญ
Efficacy: ถูกคน ถูกขนาด (ความเข้มข้น) ถูกวิถีทาง ถูกโรค ถูกเวลา
สมุนไพรที่ใช้เป็นยาฆ่าแมลงไล่แมลง
สมุนไพรไล่เพลี้ยอ่อน
ได้แก่
ยาสูบ
สะเดา
หางไหลแดง
สาบเสือ
สมุนไพรไล่ปลวก
ได้แก่
ข่า ตะไคร้ กระเทียม
ใบขี้เหล็ก
น้ำส้มสายชู
เกลือ
สมุนไพรฆ่าเหา
ได้แก่
ยูคาลิปตัส
น้อยหน่า
ผักเสี้ยน
หนอนตายหยาก
สมุนไพรไล่มด
ได้แก่
พริกสดและผิวมะกรูด
ขมิ้น
พริกป่น
หน่อไม้ดอง
สมุนไพรไล่เห็บ หมัด
ได้แก่
มะค าดีควาย
มะขาม
น้อยหน่า
สะเดา
ไพล
เมล็ดมันแกว
สมุนไพรไล่แมงมุม
ได้แก่
เปปเปอร์มินต์
ส้ม
เกลือ
เกาลัด
สมุนไพรไล่จิ้งจก
ได้แก่
ใบสาบเสือ ใบน้อยหน่า
สมุนไพรไล่ยุง
ได้แก่
มะกรูด
กะเพรา
ไพรีทรัม
ขมิ้น
ตะไคร้หอม
สมุนไพรไล่มอด
ได้แก่
กะเพรา
กานพลู
พริกไทยดำ
กระวาน
ใบมะกรูดสด
พริกแห้ง
สมุนไพรไล่แมลงหวี่
ได้แก่
ใบหางนกยูง
ตะไคร้
กาบมะพร้าว กับ เครือกระทกรก
ดอกดาวเรือง
สมุนไพรไล่ต๊ักแตน
ได้แก่
สะเดา
น้อยหน่า
เสี่ยน
สมุนไพรไล่แมลงวัน
ได้แก่
กระเทียม
ผักกลิ่นฉุน
น้ำส้มสายชู
ตะไคร้หอม
เปลือกส้ม
สมุนไพรไล่เพลี้ยแป้ง
ได้แก่
น้ำยาล้างจาน
พริกสด
สมุนไพรไล่หนู
ได้แก่
ใบพลูข่า กระเทียม
มะกรูด
น้ำมันสะระแหน่
ยี่โถ
น้ำมันระกา
สมุนไพรไล่แมลงสาบ
ได้แก่
กานพลู
พริกไทย
ใบกระวานแห้ง
สมุนไพรที่ใช้แต่งสี
สีแดง
ข้าวแดง
หัวบีทรูท
ฝาง
ครั่ง
กระเจี๊ยบแดง
สีน้ำตาล
โกโก้
สีเหลือง
ดอกคำฝอย
คำแสด (คำไทย หรือ คำเงาะ)
ขมิ้น
ลูกตาล
ดอกกรรณิกา
ฟักทอง
มันเทศ
พุด
หญ้าฝรั่น หรือ แซฟฟรอน (Saffron)
สีเขียว
ใบเตยหอม
สีดำ
กาบมะพร้าว
ถั่วดำ
สีม่วง
ผักปลัง
ดอกอัญชัน
ข้าวเหนียวดำ
สมุนไพรที่ใช้เป็นยาแก้ท้องเสีย
ได้แก่
ฟ้าทะลายโจร
ทับทิม
กล้วยน้ำว้า
มังคุด
ฝรั่ง
สีเสียดเหนือ
สมุนไพรที่ใช้เป็นยารักษาโรคผิวหนัง
สมุนไพรทีใช้รักษาแผลเรื้อรังจากการฉายรังสี
ได้แก่
ว่านหางจระเข้
ยาสารละลายพยายอ
สมุนไพรทีใช้รักษากลาก เกลือน
ได้แก่
ข่า
ขมิ้นชัน
กระเทียม
ยาทิงเจอร์ทองพันชั่ง
ชุมเห็ดเทศ
สมุนไพรทีใช้รักษาแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวก
ได้แก่
บัวบก
น้ำมันมะพร้าว
ว่านหางจระเข้
ชาจีน
สมุนไพรทีใช้แก้พิษแมลง สัตว์กัดต่อย
ได้แก่
ผักบุ้งทะเล
ขมิ้นชัน
พญายอ
ตำลึง
ยาโลชั่น หรือยาหม่องพญายอ
ยาทิงเจอร์พลู
สมุนไพรกำจัดเหา
ได้แก่
น้อยหน่า
สมุนไพรทีใช้รักษาอาการผิวหนังพุพอง น้ำเหลืองเสีย
ได้แก่
เหงือกปลาหมอ
ขมิ้นชัน
สมุนไพรทีใช้รักษาแผลสด
ได้แก่
ขมิ้นชัน
ยาครีมบัวบก
มะขาม
ยานํ้าเปลือกมังคุด
สมุนไพรทีใช้รักษาเริมงูสวัด
ได้แก่
ยาทิงเจอร์พญายอ
พญายอ
ยาครีมพญายอ
ตำลึง
สมุนไพรทีใช้รักษาอาการผื่นคัน ลมพิษ
ได้แก่
พลู
ยาเจลพลู
หญ้าคา
ยาคาลาไมน์พญายอ
สมุนไพรที่ใช้เป็นยาขับลม
ได้แก่
ยาธาตุอบเชย
Mixt carminative
ขมิ้นชัน
Mixt carminative
simethicone
ขิง
Mixt carminative
simethicone
dimenhydrinate
เบญจกูล
simethicone
Mixt carminative
diasgest
บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ
นางสาวอารยา ชูระเชตุ
เลขที่ 107 ชั้นปีที่ 2
รหัสนักศึกษา 62111301110