Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาล มารดาและทารก และการผดุงครรภ์ -…
แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาล
มารดาและทารก และการผดุงครรภ์
หลักการการดูแลมารดาและทารก
ระยะตั้งครรภ์
การให้คำปรึกษาก่อนสมรส
การให้คำแนะน าเรื่องการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์
การตรวจครรภ์ การประเมินสุขภาพของทารกในครรภ์
อาการไม่สุขสบายและการแก้ไข
ระยะคลอด
อาการแสดงเมื่อเข้าสู่ระยะคลอดเชื่อมโยงกับทฤษฎีการเจ็บครรภ์คลอด ทฤษฎีควบคุมประตูความปวด
การพยาบาลทารกแรกเกิดในห้องคลอด
การส่งเสริมสัมพันธภาพมารดา ทารก และครอบครัว
ระยะหลังคลอด
การเฝ้าระวังและป้องกันภาวะแทรกซ้อนของมารดาและทารกหลังคลอด
การส่งเสริมการฟื้นฟูสภาพของมารดาหลังคลอด
การให้คำแนะนำเรื่องการปฏิบัติตัวหลังคลอด
การพยาบาลทารกแรกเกิด
การส่งเสริมการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา
อาการผิดปกติของมารดาและทารกที่ต้องมาพบแพทย์
บทบาทผดุงครรภ์ตามมาตรฐานองค์การอนามัยโลก
ระยะตั้งครรภ์
ให้บริการฝากครรภ์อย่างน้อยคนละ 4 ครั้ง ในรายปกติ
หากพบความแตกต่างของความสูงยอดมดลูกกับอายุครรภ์ตั้งแต่ 3 ซม.ขึ้นไป ในกรณีที่อายุครรภ์เกิน 24 สัปดาห์ ต้องส่งพบแพทย์เพื่อรับการตรวจวินิจฉัยและรักษาต่อไป
ตรวจสอบการให้ยาเสริมธาตุเหล็ก
คลำหน้าท้องด้วยความนุ่มนวล ประเมินท่าของทารกในครรภ
ประเมินการเข้าสู่ช่องเชิงกรานของศีรษะ
ความดันโลหิต
• ให้คำแนะนำเรื่องการเตรียมตัวคลอด
ระยะคลอด
มีการเฝ้าคลอดหญิงตั้งครรภ์ให้เร็วที่สุด
เมื่อเข้าสู่ระยะ active phase ให้ใช้partograph หรือ cervicograph
และบันทึกการคลอด
หากมี ขี้เทาปนในน้ าคร่ า (meconium) มักแสดงว่ามีภาวะ fetal distress
ควรส่งต่อแพทย์
หากมีการหดรัดตัวของมดลูก หรือถุงน้ าคร่ าแตก และผู้คลอดยังไม่เข้าสู่
active phase ภายใน 8 ชั่วโมง ควรส่งต่อแพทย์
พบมีเลือดออกทางช่องคลอด ควรส่งต่อแพทย์
ในกรณีที่ไม่มีแพทย์ สามารถตัดฝีเย็บเพื่อให้การคลอด ด าเนินไปได้อย่าง
ปลอดภัยและสามารถเย็บซ่อมแซมได้
พยาบาลสามารถทำคลอดรกได้ด้วยวิธีcontrolled cord traction
ระยะหลังคลอด
หากมารดามีภาวะโลหิตจางในระยะตั้งครรภ์ หรือมีการเสียเลือดมากในระยะคลอด ควรตรวจดูค่า ฮีมาโตคริต และฮีโมโกบิน เฝ้าระวังการตกเลือดหลังคลอด
ให้คำแนะนำในการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา อย่างเดียวนาน 6 เดือน
ให้การดูแล/ ติดตามเยี่ยมบ้านอย่างเหมาะสมกับวัฒนธรรมประเพณี ภายใน 42 วันหลังคลอด
บันทึกสีผิวและตรวจดูอาการแสดงของภาวะตัวเหลืองของทารก
ข้อบังคับสภาการพยาบาลว่าด้วยข้อจำกัดและเงื่อนไขในการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ 2550
ทำคลอดปกติ
กรณีรายที่คลอดผิดปกติ สามารถใช้คีมต่ าช่วยคลอดได้ หากไม่สามารถหาแพทย์ได้ (กรณีฉุกเฉินหรือวิกฤต)
สามารถท าคลอดรกด้วยวิธีดึงรั้งสายสะดือได้ หากปล่อยรกค้างจะเป็นอันตรายต่อแม่
รายที่มีการตกเลือดหลังคลอด ถ้าปล่อยทิ้งไว้จะเป็นอันตรายต่อมารดาให้รักษาอาการตกเลือดเบื้องต้นตามความจำเป็น และส่งต่อทันที
ประเด็นและแนวโน้มการผดุงครรภ์และ
การพยาบาลมารดาและทารก
ครอบครัวมีขนาดเล็กลง
อัตราการหย่าร้างสูงขึ้น
สตรีทำงานนอกบ้านเพิ่ม
มากขึ้นถึงร้อยละ 90
ครอบครัวมีการตระหนักเรื่อง
สุขภาพมากขึ้น
นโยบายระบบสุขภาพ/หลักประกันสุขภาพ/สิทธิ
ประโยชน์ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลสุขภาพมารดาทารก
กองทุนสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย
การตรวจและดูแลเพื่อส่งเสริมสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์
การให้ยาต้านไวรัสเอดส
การวางแผนครอบครัว
ร่วมจ่าย 30 บาททุกครั้ง
การคลอดบุตรใช้สิทธิได้ไม่จำกัดจำนวนครั้ง
กรณี C/S และผ่าตัดไส้ติ่ง (ใช้สิทธิได้เฉพาะ C/S )
การตรวจวินิจฉัยโรค บำบัดและฟื้นฟูสภาพทางการแพทย์จนสิ้นสุดการ
รักษา
ชุดสิทธิประโยชน์(หญิงตั้งครรภ์)
ได้รับวัคซีนป้องกันบาดทะยัก
รายปกติ ได้รับการตรวจจากแพทย์อย่างน้อย 1 ครั้ง
ได้รับวิตามินเสริมธาตุเหล็ก
ชุดสิทธิประโยชน์ (ระยะคลอด)
เฝ้าคลอดโดยใช้กราฟดูแลการคลอดได้อย่างมีคุณภ
ผู้คลอดได้รับเลือดหรือสารทดแทนเมื่อมีเหตุจำเป็น
เมื่อผู้คลอดมีภาวะที่ไม่สามารถคลอดได้ตามปกติ มีการช่วยเหลือการ
คลอดโดยวิธีอื่น หรือสามารถส่งต่อได้ทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพ
ชุดสิทธิประโยชน์ (ระยะหลังคลอด)
การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน
ได้รับบริการตามมาตรฐานการดูแลหญิงหลังคลอด (ในสถาน
บริการ/ที่บ้านได้อย่างเหมาะสม)
กองทุนประกันสังคม
จ่ายเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 เดือน ภายใน 15 เดือนก่อนเดือนคลอดบุตร มีสิทธิเบิกค่าคลอดบุตรได้
คลอดบุตรที่ใดก็ได้ เหมาจ่าย 13,000 บาท ต่อ
การคลอด 1 ครั้ง ใช้สิทธิไม่จ ากัดจ านวนครั้ง
ประกันตนหญิงมีสิทธิได้รับเงินสงเคราะห์การ
หยุดงานเพื่อการคลอดบุตรเหมาจ่ายในอัตราร้อยละ 50 ของค่าจ้างเฉลี่ยเป็นระยะเวลา 90วัน ไม่เกิน 2 ครั้ง
ห้ามนายจ้าง ให้ลูกจ้างหญิงที่มีครรภ์ทำงาน
ระหว่างเวลา 22.00น.-06.00น.
ท างานล่วงเวลาทำงานในวันหยุด
ท างานอย่างหนึ่งอย่างใด
งานเหมืองแร่หรืองานก่อสร้างที่ต้องทำใต้ดิน ใต้น้ำในถ้ำในอุโมงค์ หรือปล่องในภูเขา
งานเกี่ยวกับเครื่องจักรหรือเครื่องยนต์ที่มีความสั่นสะเทือน
งานขับเคลื่อนหรือติดไปกับยานพาหนะ
งานยก แบก หาม หาบ ทูน ลาก หรือเข็นของหนักเกิน 15 กิโลกรัม
งานที่ทำในเรือ
ข้าราชการ
การคลอดบุตร ใช้สิทธิได้ 3 ครั้ง
สามีรับราชการ แต่หย่ากับฝ่ายหญิง โดยฝ่ายหญิงตั้งครรภ์ 6 เดือนบุตรใช้สิทธิข้าราชการจากบิดาได้ เพราะเป็นบุตรที่เกิดภายใน 310 วัน
นับตั้งแต่วันหย่า
หลักการพยาบาลมารดาและทารกแบบองค์รวม
โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์
เพื่อให้การดูแลสุขภาพมารดาและทารกเกิดประสิทธิภาพสูงสุด และ
ครอบคลุมทั้ง 4 มิติของการพยาบาล คือ ป้องกันความเจ็บป่วย การ
สร้างเสริมสุขภาพ การรักษา และการฟื้นฟูสภาพ