Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การรับรู้ตนเอง เพื่อการพัฒนาบุคลิกภาพ - Coggle Diagram
การรับรู้ตนเอง เพื่อการพัฒนาบุคลิกภาพ
ความหมาย และปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้
การรับรูั หมายถึง
กระบวนการแสดงออกให้เห็นถึงความรู้สึกนึกคิดของบุคคลที่มีต่อสิ่งเร้าใดสิ่งเร้าหนึ่ง อันเป็นผลมาจากการแปลความโดยอาศัยประสาทสัมผัสทั้งห้า ด้วยความแตกต่างทั้งทางด้านปัจจัยส่วนบุคคลและประสบการณ์เดิมที่ผ่านมา ย่อมทำให้แต่ละคนเกิดการรับรู้ในสิ่งเร้าได้ต่างกัน จนส่งผลต่อการพฤติกรรมตอบสนองสิ่งเร้าที่แตกต่างกันไ
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้ของบุคคล
ในการรับรู้สิ่งเร้าใดสิ่งเร้าหนึ่งของบุคคลที่แตกต่างกันนั้น เนื่องด้วยเหตุปัจจัยหลายประการดังนี้
1.ความสมบูรณ์หรือความบกพร่องของอวัยวะสัมผัส
เป็นปัจจัยสำคัญลำดับแรกของการรับรู้
2. ประสบการณ์เดิม ของแต่ละบุคคล
เป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการรับรู้มาที่สุด การรับรู้จะเป็นไปในทิศทางใดจึงขึ้นอยู่กับบุคคลนี้มีประสบการเดิมต่อสิ่งเร้านั้นในลักษณะเช่นไร
3. ความต้องการที่จะรับรู้
โดยทั่วไปบุคคลจะรับรุ้เฉพารสิ่งเร้าที่ตต้องการหรือสนใจที่จะรับรู้เท่านั้น
4. คุณลักษณะบางประการของสิ่งเร้า
สิ่งเร้าใดที่มีความโดดเด่นกว่าสิ่งเร้าอื่น สิ่งเร้านั้นก็สามารถดึงดูดความสนใจได้
5. สภาวะทางอารมณ์
ย่อมทำให้การับรู้เกิดความผิดพลาดได้ง่า
6. ความคาดหวัง
หากบุคคลคาดหวังในสถานการณ์ใดจิตใจก็จดจ่อที่จะรับรู้ต่อสถานการณ์
7. สติปัญญา
เป็นปัจจัยที่ทำให้แต่ละคนรับรู้สิ่งเร้าได้แตกต่างกันไป
8.การให้คุณค่า
สิ่งเร้าใดที่บุคคลให้คุณค่าและความสำคัญ สิ่งเร้านั้นจะสามารถเพิ่มความสนใจและใส่ใจที่ตะรับรู้ให้มากขึ้นได้
9. การถูกชักจูง
สังคมจะมีอิทธิพลต่อการรับรู้ของบุคคลโดยบุคคลมักจะให้ความใสใจที่จะรับรู้ในเรื่องที่คนส่วนใหญ่ในสังคมกำลังให้ความสนใจ
การรับรู้ตนเอง
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการรับรู้ตนเอง
สำหรับการรับรู้ตนเองนั้นอาจจำแนกออกเป็นด้านต่างๆ ด้วยกัน 5 ด้านดังนี้
1. การับรู้เกี่ยวกับตนเองด้านสรีระ
หมายถึง การรับรู้ตนเองในส่วนที่เกี่ยวกับรูปร่าง หน้าตา กิริยาท่าทาง สัดส่วนของร่างกาย
2. การรับรู้ตนเองด้านสภาวะจิตใจ
เป็นการรับรู้ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องอารมณ์ ความรู้สึกเฉพาะด้านลักษณะอุปนิสัย
3. การรับรู้ถึงสถานภาพและบทบาทของตน
สถานภาพจะเป็นตัวกำหนดบทบาทการกระทำของสมาชิกแต่ละคนในสังคม
4. การับรู้ตนเองด้านสังคม
คือ การรับรู้ถึงความสามารถในการติดต่อเกี่ยวข้องกับบุคคลอื่น
5. การับรู้ตนเองด้านสติปัญญาความสมารถ
คือ การับรู้ถึงความสามารถของตนในด้านการเรียนรู้
หลักการที่นำไปใช้เพื่อการรับรู้ตนเอง
ในการที่บุคคลจะเกิดการรับรู้ตนเองได้ อย่างถูกต้องได้นั้น มีขั้นตอนที่ควรยึดถือและนำไปปฏิบัติอยู่หลายประการดังนี้
1. ขั้นการทำความรู้จักตนเอง
โดยการทำความรู้จักตนเองนั้นมีจุดมุ่งหมาย 3 ประการคือ
เพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับตนเอง
เพื่อเข้าใจตนเอง
เพื่อการยอมรับตนเอง
2. ขั้นการเปิดใจยอมรับฟังคำวิจารณ์จากผู้อื่น
นักจิตวิทยาที่มีชื่อเสียงกลุ่มมนุษย์นิยมได้อธิบายในเรื่อง ทฤษฎีตัวตน ไว้ว่าจน ประกอบไปด้วย 3 ส่วนได้แก่
ตนตามความเป็นจริง คือ ตัวตนที่คนอื่นมองเรา
ตนที่ตนรับรู้ คือ ตนที่เราคิดว่าเราเป็น
3.ตนในอุดมคติ คือ ตนที่อยากเป็น
3. ขั้นดำเนินการวิเคราะห์ตนเอง
วิธีการในการทำความรู้จักตนเองนั้นิอาจใช้การวิเคราะห์ตนเองตามแนวทางวิธีการประเมินตนเอง ดังต่อไปนี้ ได้แก่ 1. การประเมินตนเองจากคนใกล้ตัว 2. ประเมินตนเองโดยใช้กลยุทธ์วิเคราะห์ข้อดีข้อด้อยของตน 3. ประเมินตนเองจากแบบทดสอบทางจิตวิทยา
ทฤษฎีหน้าต่างโจฮารี่
ในทางจิตวิทยาได้มีทฤษฎีที่ได้อธิบายพฤติกรรมของตนเองและผู้อื่น เพื่อช่วยให้การติดต่อสื่อปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันเป็นไปได้อย่างราบรื่น
1. บริเวณเปิดเผย
คือ ส่วนที่ตนเองแะผู้อื่นเปิดเผบให้รับรู้ซึ่งกันและกันว่ามีข้อบกพร่องตรงไหนอย่างไร
2. บริเวณจุดบอด
คือส่วนที่ผู้รับรู้และเห็นถึงความบกพร่องของตนเองแต่ตนเองไม่รู้
3. บริเวณจุดซ่อนเร้นหรืจุดปกปิด
คือ ส่วนที่ตนเองรู้จุดบกพร่องของตัวเองอย่างดี แต่ปกปิดความลับไม่เปิดเผยให้ผู้อื่นรู้
4. บริเวณไร้การรับรู้
คือ ส่วนที่เป็นความรู้สึกบางอย่างที่แสดงออกไปโดยที่ตนเองก็ไม่รู้ตัว
แนวทางในการปรับปรุงบุคลิกภาพของบุคคล
การพัฒนาบุคลิกภาพ
จึงสมควรอย่างยิ่งที่จะต้องเรียนรู้แนวทางทางการประเมินและปรับปรุงบุคลิกภาพของตนเองเอาไว้ เพื่อนำไปใช้ในการพัฒนาบุคลิกภาพของตนต่อไป สำหรังแนวทางการปรับปรุงบุคลิกภาพมีด้วยกันสองแนวทาง ดังต่อไปนี้
แนวทางการปรับปรุงบุคลิกภาพภายนอก
ควรพิจารณาดังต่อไปนี้
1. การปรัปปรุงด้านรูปร่างหน้าตา
ถือว่าเป็นด่านแรกที่สร้างความประทับใจแก่ผู้พบเห็นไม่ว่าจะเป็นรูปร่างที่ดี เป็นต้น
2. การดูแลรักษาสุขภาพอนามัยของร่างกาย
เป็นสิ่งสำคัญต่อบุคคลจะมีร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง
3. การปรับปรุงด้านการแต่งตัว
การแต่งตัวกาย เป็นเครื่องแสดงออกถึงบุคลิกภาพของบุคคลที่จะสื่อให้ผู้อื่รู้ถึงอุปนิสัย รสนิยม ฐานะความเป็นอยู่ อยาชีพ เป็นต้น
4. ความเหมาะสมกับกาลเทศะ
การเลือกเครื่องแต่งกายควรพิจารณาให้เหมาะสมกับโอกาสหรือกิจกรรม และสถานที่ เป็นต้น
5. ความเหมาะสมกับรูปลักษณ์
การเลือกเสื้อผ้าที่จะนำมาใช้ในการแต่งกายที่เหมาะสมกับรูปลักษณ์ จะช่วยให้เสริมส่วนที่เป็นจุดเด่นให้กัยตนเองและ สามารถปิดบังอำพรางในจุดด้อยได้
6. ความเหมาะสมในการเลือกใช้เครื่องประกอบการแต่งกาย
เครื่องประกอบการจะช่วยส่งเสริมความเหมาะสมและความมั่นใจได้
แนวทางในการปรับปรุงบุคลิกภาพภายใน
ควรพิจารณาังต่อไปนี้
แนวทางในการเตรียมตัวเพื่อปรับปรุงอุปนิสัยในส่วนที่เป็นข้อบกพร่องของตน
1.วิเคราะห์บุคลิกภาพภายใน
เพื่อให้เกิดการรับรู้อุปนิสัยที่แท้จริงของตน
2.เปิดใจให้กว้าง
เพื่อยอมรับในความจริงเกี่ยวกับอุปนิสัยที่เป็นส่วนไม่ดีของตน
3.มีความอดทนต่อการปรับเปลี่ยนอุปนิสัยส่วนที่เป็นข้อบกพร่องต่างๆ
4.ยอมรับในคุณค่าของตนเอง และยอมรับคุณค่าของผู้อื่น
5.ยอมรับความเป็นจริงที่ว่าแต่ละคนล้วนมีความแตกต่างกัน
โดยเฉพาะด้านอุปนิสัย ใจคอ
6. ฝึกการควบคุมอารมณ์ตนเอง
7. ฝึกการมองโลกในแง่ดี
แนวทางปฎิบัติในการปรับปรุงอุปนิสัยส่วนที่เป็นข้อบกพร่องของจนเอง
1.การปรับปรุงลักษณะอุปนิสัยขี้ลืม
โดยการจดบันทึก ฝึกหัดเป็นผู้มีสมาธิเป็นต้น
2.การปรับปรุงอุปนิสัยเจ้าอารมณ์
คือ ต้องใจเย็น หันเหความสนใจไปจากสิ่งรบกวนอารมณ์ไปทางอื่น
3.การปรับปรุงอุปนิสัยขาดน้ำใจ
เห็นแก่ตัว อิจฉาริษยาผู้อื่น คือ พยายามช่วยเหลือผู้อื่นในเรื่องเล็กๆน้อยๆ เป็นต้น
4. การปรับปรุงอุปนิสัยหลงตนเอง
ไม่ชื่นชมยกย่อผู้อื่น คือ การปรับปรุงตนเองโดยให้ความสนใจบุคคลอื่น มองโลกในแง่ดี เป็นต้น
บุคลิกภาพที่เกี่ยวข้องกับมารยาททางสังคม
มารยาททางสังคมถือได้ว่าเป็นบรรทัดฐานทางสังคมประเภทหนึ่งที่ถูกำหนดขึ้น เพื่อให้สมาชิกในสังคมที่มีเหตุต้องมาปฎิสัมพันธ์กัน จะได้มีแนวทางที่ใช้ปฎิบัติในลักษณะรูปแบบเดียวกัน