Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 4 กระบวนการบริหาร และจิตวิทยาในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษ…
หน่วยที่ 4 กระบวนการบริหาร และจิตวิทยาในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การวางแผนการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดด้านการวางแผน
ความหมายการวางแผน
ความหมาย
กระบวนการตัดสินใจล่วงหน้า
ทางเลือกที่ดีที่สุด
เพื่อให้บรรลุผลสำเร็จ
ความสำคัญ
กำหนดทิศทางผู้บริหาร+ผู้ปฏิบัติงาน
บอกทิศทางในการออกแบบงาน การแบ่งหน้าที่
ช่วยให้บริหารง่ายขึ้น
ช่วยในการวัดผล
ลดความผิดพลาด
ช่วยให้ประหยัด
ประสานงานกับหน่วยงานอื่นได้ง่ายขึ้น
ประเภท
แบ่งตามระยะเวลา
แผนระยะสั่น
แผนระยะยาว
ประเภทของแผนตามการใช้
แผนประจำ
แผนเฉพาะกิจ
แผนตามระดับองค์กร
แผนกลยุทธ์
แผนปฏิบัติงาน
แผนตามระดับการบริหาร
แผนระดับชาติ
แผนระดับภาค
แผนระดับจังหวัด
แผนระดับอำเภอ
แผนระดับตำบล
แผนตามสายงาน
แผนระดับชาติ
แผนระดับกระทรวง
แผนระดับกรม
แผนระดับกอง
แผนตามหลักเศรษฐศาสตร์
แผนมหภาค
แผนรายสาขา
แผนตามวัตถุประสงค์ของการจัดทำแผน
แผนรายสินค้า
แผนตามพื้นที่
แผนตามหน้าที่
แผนครัวเรือน
ลักษณะแผนที่ดี
ชัดเจน
คุ้มค่า
ตอบสนองความต้องการลูกคเา
เป้นไปได้
ยืดหยุ่น
คำนึงสภาพแวดล้อม
ข้อจำกัด
ต้องวางแผนโดยใช้หลักวิชาการ
ขาดข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
ข้อจำกัดด้านระยะเวลา
นโยบาย+วัตถุประสงค์ไม่แน่นอน
การนำประโยชน์ส่วนตนมาเกี่ยวข้อง
ขาดการวิเคราะห์สภาวะแวดล้อม
ทัศนคติ+ค่านิยมของผู้บริหาร
ขั้นตอนการวางแผน
ขั้นตอนการวางแผนระดับองค์กร
วิเคราะห์ SWOT
วางทิศทางองค์กร
การกำหนดกลยุทธ์
กลยุทธ์ระดับองค์กร
กลยุทธ์ระดับธุรกิจ
กลยุทธ์ระดับปฏิบัติการ
ขั้นตอนการวางแผนระดับโครงการ
การวิเคราะห์สถานการณ์
การกำหนดวัตถุประสงค์ และเป้าหมาย
กำหนดแผน
กำหนดขอบเขต กำหนดการดำเนินงาน ขั้นตอนวิธีการปฏิบัติ ระยะเวลา
กำหนดงบประมาณ
การวิเคราะห์ผลประเมิน
การจัดทำเอกสารของแผนงาน/โครงการ
การจัดองค์กร การจัดทรัพยากรบุคคล การอำนวยการ การควบคุม และการประเมินผลในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การจัดองค์การ การจัดบุคคลากรเข้าทำงาน
การจัดองค์กร
ความหมาย
กระบวนการแบ่งกลุ่มงาน กิจกรรม และทรัพยากรณ์ต่างๆ
แบ่งให้เป็นหมวดหมู่ มาทำกิจกรรมร่วมกัน
จัดความสัมพันธ์ เชื่อมโยง ประสานงานกัน
ความสำคัญ
เพิ่มประสิทธิภาพ
เกิดความชัดเจนในการทำงาน
ทราบถึงอำนาจหน้าที่
มอบหมายงานให้ตรงความเหมาะสม
บริหารได้อย่าง สะดวก รวดเร็ว คล่องตัว
ลดความสิ้นเปลือง ฟุ่มเฟือย
ทำให้ดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง
หลักการจัดองค์กรที่ดี
กำหนดวัตถุประสงค์
หลักประสานงาน
หลักบังคับบัญชา
หลักความรับผิดชอบ
หลักความสมดุล
หลักความต่อเนื่อง
หลักการติดต่อและโต้ตอบกัน
หลักขอบเขตความควบคุม
หลักเอกภาพในการทำงาน
หลักตามลำดับขั้นตอน
หลักการเลื่อนตำแหน่ง
กระบวนการในการจัดองค์กร
การออกแบบงาน
การจัดกลุ่มงานหรือจัดแผนงาน
โครงสร้างองค์การตามหน้าที่
โครงการองค์การตามผลิตภัณฑ์
โครงสร้างองค์การตามกลุ่มลูกค้า
โครงสร้างองค์การตามพื้นที่ทางภูมิศาสตร์
การจัดโครงสร้างองค์การแบบแมทริกซ์
การจัดองค์การแบบไม่มีลำดับขั้นในการบริหาร
การกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างงาน
สายการบังคับบัญชา
ขนาดของการควบคุม
เอกภาพการบังคับบัญชา
การกระจายอำนาจ
การจัดบุคคลเข้าทำงานในองค์กร
ความหมาย
กระบวนการวางนโยบาย ระเบียบ กรรมวิธีในการดำเนินงานเกี่ยวกับบุคคลให้เหมาะสมกับการทำงาน
กระบวนการจัดคนเข้าทำงาน
การกำหนดนโยบายการจ้าง
การวางแผนกำลังคน
การสรรหาและการคัดเลือก
การบรรจุแต่งตั้งและการปฐมนิเทศ
การพัฒนา และการฝึกอบรม
การโยกย้าย และการเลื่อนตำแหน่ง
การนิเทศงาน
การออกจากงาน
การอำนวยการ การควบคุม การประเมินผล
การอำนวยการ
การมอบหมายและการสั่งการ
ประเภทการสั่งการ
โดยตรง
ขอร้อง
ข้อเสนอแนะ
อาสาสมัคร
ลักษณะของการสั่งการ
สั่งด้วยวาจา
สั่งการเป็นลายลักษณ์อักษร
องค์ประกอบที่สำคัญของการสั่งการ
ผู้บริหาร
การจูงใจ
การติดต่อสื่อสาร
ศิลปะของการสั่งการ
คำสั่งชัดเจน
คำนึงถึงความสามารถและปริมาณงาน
ไม่ควรออกคำสั่งด้วยความรีบร้อน
เป็นการจูงใจ/โน้มน้าวผู้ปฏิบัติงาน
ระวังไม่ให้คำสั่งขัดแย้งกับคำสั่งเดิม
กล้ารับผิดชอบต่อคำสั่ง
เปิดโอกาสให้ผู้ปฏิบัติงานใช้ความคิดสร้างสรรค์
การประสานงาน
ความหมาย
การจัดวิธีการทำงาน
เชื่อมประสานระหว่างหน่วยงาน
ประสานพลังในการปฏิบัติงาน
ความสำคัญ
ทำให้งานเสร็จตามวัตถุประสงค์
ลดความขัดแย้ง
ประหยัดเงิน+ เวลา
การประสานงานที่ดี
ชัดเจน รัดกุม
เครื่องมือและระบบการสื่อสารมีประสิทธิภาพ
ผู้ประสานงาน มีความรู้ มนุษยสัมพันธ์ดี
ประสานงานช่วงจังหวะเวลาที่เหมาะสมกับแผนงาน
การควบคุม
งบประมาณ
แผนภูมิของแกนท์
การควบคุมงานโดยใช้เทคนิค PERT
การตรวจเยี่ยม
การรายงาน
การใช้ห้องปฏิบัติการ
การกำหนดมาตรฐานของงาน
การควบคุมด้วยวงจรคุณภาพ PDCA
การกำหนดวัตถุประสงค์
การกำหนดมาตรฐานของงาน
การวัดผลการปฏิบัติงาน
การเปรียบเทียบผลงานกับมาตรฐาน
การดำเนินการแก้ไข
การประเมินผล
ความหมาย
การรวบรวมข้อมูลผลการปฏิบัติ นำมาเปรียบเทียบกับแผนที่วางไว้
ความสำคัญ
ตอบคำถามว่า ดีอย่างไร
ก่อให้เกิดข้อมูลในการตัดสินใจ
ตีความหมายและคุณค่าจากสิ่งที่วัดได้
อาศัยวิธีการที่มีแบบแผน
องค์ประกอบสำคัญ
รวบรวมข้อมูล
กำหนดเกณฑ์การประเมิน
เปรียบเทียบความจริง และข้อมูลที่ได้
การตีความสรุปผล และตัดสินใจ
ประโยชน์
ช่วยในการศึกษาความเป็นไปได้ก่อนเริ่มโครงการ
ทราบความก้าวหน้าของโครงงาน
ทราบผลการดำเนินการ
ทราบสภวการณ์
ช่วยให้เกิดข้อมูลในการตัดสินใจ
ทำให้เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างผู้ร่วมงาน
ประเภท
แบ่งตามเวลาที่ประเมิน
ก่อนเริ่มโครงการ
ระหว่างการดำเนินงาน
หลังการดำเนินโครงการ
แบ่งตามจุดมุ่งหมายของการประเมิน
เพื่อปรับปรุง
เพื่อสรุปผล
การกระบวนการประเมิน
ศึกษาและวิเคราะห์งาน/โครงการ
วิเคราะห์สถานการณ์ทั่วไป
วิเคราะห์วัตถุประสงค์
การวิเคราะห์ขอบเขตการปฏิบัติงาน
กำหนดวัตถุประสงค์ในการประเมินผล
กำหนดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด
ต้องสามารถให้ค่า
ค่าของตัวชี้วัด
เกณฑ์
เกณฑ์มาตรฐาน
เกณฑ์สัมพัทธ์
ออกแบบประเมินผล
Pretest-Posttest design
Pretest-Posttest design with control group
Posttest only designwith acontrol group
แบบจำลองในการประเมินผลโครงการ
แบบจำลอง ซิป
การประเมินบริบท
การประเมินปัจจัยนำเข้า
ประเมินกระบวนการ
การประเมินผลผลิต
กำหนดเครื่องมือในการประเมินผล
ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล
วิเคราะห์ข้อมูล
จัดทำรายงานประเมินผล
แนวคิดเกี่ยวกับจิตวิทยาในการบริหารงานส่งเสริมการเกษตร
ความหมาย ความสำคัญ และบทบาทหน้าที่
ความหมาย
จิตวิทยา
ศึกษาจิตใจ ความคิด พฤติกรรมมนุษย์
ความเข้าใจการใช้เหตุผล
การบริหารจัดการ
กระบวนการของการมุ่งสู่จุดมุ่งหมายขององค์กรจากการทำงานร่วมกัน
จิตวิทยาในการบริหาร
พฤติกรรมของนักบริหาร
พฤติกรรมการบริหารงาน
การจัดการ+การพัฒนาทรัพยากรบุคคล
ความสำคัญ
ต่อองค์กร
เป็นศูนย์รวมจิตใจขององค์กร
บ้านหลังที่สองของผู้ปฏิบัติงาน
ช่วยให้การบริหารงานมีประสิทธิภาพ
ช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานดำเนิงานให้ประสบความสำเร็จ
ต่อผู้บริหาร
สร้างความเข้าใจ+ความสัมพันธ์กับบุคคลากร
ใช้จูงใจผู้บริหาร+ผู้ปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ
จัดการทรัพยากรบุคคลให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
ช่วยทำให้การบริหารประสบความสำเร็จ
ต่อนักส่งเสริมการเกษตร
ช่วยให้ นวส.เข้าใจตนเอง+พัฒนาตนเอง
เกิดความสัมพันธ์ที่ดีระหว่าง นวส.+ ผู้บริหาร
ช่วยให้ทำงานอย่างมีความสุข+มีประสิทธิภาพ
ต่อเกษตรกร
เข้าใจพฤติกรรม+ความต้องการตนเอง
เสริมสร้างคุณภาพชีวิต และการพึ่งพาตนเอง
บทบาทของจิตวิทยา
การพัฒนาการบริหารงาน
งานและจุดมุ่งหมายของการทำงาน
การเปลี่ยนพฤติกรรมของนักบริหาร+ นวส.
ทฤษฎีจิตวิทยาเกสตัลท์
เน้นพฤติกรรมการรับรู้ของมนุษย์
ทฤษฎีจิตวิทยาด้านพฤติกรรม
เสริมแรงทางบวก
เสริมแรงทางลบ
ทฤษฎีจิตวิทยาการรับรู้
การเสริมสร้างคุณภาพงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความต้องการของเกษตรกร
การพัฒนา นวส.
ปัจจัยด้านจิตวิทยาที่มีผลต่อการบริหาร
จิตวิทยาที่มีผลต่อการบริหาร
ภวะผู้นำ
ความหมาย
กระบวนการแนวโน้ม
ความสามารถในการโน้มน้าวให้ผู้อื่น ปฏิบัติตาม
เพื่อให้ทำงานบรรลุเป้าหมาย
ปัจจัย
ประสบการณ์
สติปัญญา
คุณลักษณะทางร่างกาย
บุคคลิกภาพ
ความมั่นใจ
คุณลักษณะผู้นำที่ทำให้ประสบความสำเร็จ
คุณลักษณะส่วนบุคคล
วุฒิภาวะทางอารมย์
มนุษยสัมพันธ์
ทักษะทางสังคม
ความขยันขันแข็ง
ความคิดสร้างสรรค์
คุณลักษณะในการทำงาน
วิสัยทัศน์
ทัศนคติที่ดี
การวางแผน+ประสานงาน
การบริหาร
การตัดสินใจ
ความหมาย
การตัดสินใจเป็นกระบวนการ
การตัดสินใจเกี่ยวกับทางเลือก
การตัดสินใจเกี่ยวกับโครงสร้างองค์กร
การตัดสินใจเกี่ยวกับพฤติกรรมบุคคล
ความสำคัญ
เป็นเครื่องวัดความแตกต่าง นักบริหาร กับ นักปฏิบัติงาน
เป็นวิธีนำไปสู่เป้าหมาย
เป็นเหมือนสมองขององค์กร
เป็นกลยุทธ์ในการแก้ไขปัญหา
กระบวนการตัดสินใจ
การระบุปัญหา
การระบุข้อจำกัดของปัจจัย
การพัฒนาทางเลือก
การวิเคราะห์ทางเลือก
การนำผลการตัดสินใจไปปฏิบัติ
สร้างระบบควบคุม+ประเมินผล
จิตวิทยาของ นวส.
ภาวะผู้ตาม
ความหมาย
การเป็นสมาชิกที่ดี
ตอบสนองต่อสภาวะผู้ตามแบบต่างๆ
ข้อคิดในการตัดสินใจเลือกผู้นำ
ความกลัว
ขาดความหวัง
ความศรัทธาในตัวผู้นำ
ยอมรับในสติปัญญา
ยอมรับวิสัยทัศน์
ลักษณะผู้ตามที่ดี
จัดการตัวเองได้ดี
มีความมุ่งมั่น
พัฒนาตนเอง
กระตือรือร้น มีความรับผิดชอบ
อาสาสมัคร
ต้อสู้ในสิ่งที่ถูกต้อง
กล้าเปลี่ยนแปลง
จิตวิทยาเกษตรกร
รูปแบบของพฤติกรรมเกษตรกร
หัวก้าวหน้า
พวกไม่รีรอ
พวกยอมรับปานกลาง
พวกยอมรับช้า
พวกรั้งท้าย
พฤติกรรมการยอมรับของเกษตรกร
กระบวนการยอมรับ
ขั้นตื่นตัว
ขั้นสนใจ
ขั้นประเมินผล
ขั้นทดลอง
ขั้นยอมรับ
กระบวนการตัดสินใจนวัตกรรม
ขั้นความรู้
ขั้นจูงใจ
ขั้นการตัดสินใจ
ขั้นลงมือปฏิบัติ
ขั้นทบทวนการตัดสินใจ
จิตวิทยาสำหรับนักบริหารและส่งเสริมการเกษตร
จิตวิทยาสำหรับนักบริหาร
การใช้จิตวิทยาเพื่อสร้างความสัมพันธ์
ความสัมพันธ์ที่ดีในองค์กร
ความสำคัญของความสัมพันธ์ที่ดีในองค์กรส่งเสริมการเกษตร
สร้างความเข้าใจ
ลดความขัดแย้ง
ประสานงาน+ความร่วมมือ
ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ
คุณภาพชีวิตที่ดี
ลักษณะของกลุ่มทำงานที่มีความสัมพันธ์ที่ดี
ทำงานร่วมกันโดยใช้หลักประชาธิปไตย
มีความไว้วางใจ
มีการสื่อสารที่ดี
มีการช่วยเหลือกัน
ทำงานเป็นระบบ
การร่วมมือที่ดี
เอื้อต่อมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
แนวปฏิบัติที่สำคัญเกี่ยวกับการปฏิบัติต่อบุคคลากร
ยิ้มให้บุคคลากร
ทักทาย
จำชื่อ
เป็นมิตร
จริงใจ
สนใจรายละเอียด
อ่อนน้อม
ระมัดระวังความรู้สึก
กระตือรือร้น
อารมย์ขัน
การใช้จิตวิทยาเพื่อจูงใจผู้ปฏิบัติงาน
ความสำคัญ
เพิ่มพลังในการทำงาน
เพิ่มความทำงานในการทำงาน
เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการทำงาน
เสริมสร้างคุณค่าความเป็นคน
ลักษณะของแรงจูงใจ
แรงจูงใจภายใน
สิ่งผลักดันในตัวบุคคล
แรงจูงใจภายนออก
สิ่งผลักดันภายนอก
รูปแบบการจูงใจในการปฏิบัติงาน
ปัจจัยนำเข้าของบุคคล
ความรู้+ความสามารถ
อารมณ์
ความเชื่อ+ค่านิยม
องค์ประกอบของงาน
สภาพแวดล้อม
การออกแบบ
เครื่องมือ
เครื่องใช้
หลักสำคัญ
เงิน
บทลงโทษ
เป้าหมาย
ขวัญ
เทคนิคจูงใจ
D-Development
R-Ralation
I-Individual Motivation
V-Verbal Communication
E-Environment Arrangement
พฤติกรรมหลักของนักบริหารที่สร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน
สื่อสารให้เข้าใจตลอดเวลา
ไม่จับผิด
ไว้วางใจ
เอาใจเขามาใส่ใจเรา
ข้อควรคำนึงถึง
ความแตกต่างระหว่างบุคคล
ความเข้าใจบุคคลในภาพรวม
โน้มน้าวเมื่อรับแรงกระตุ้น
ศักดิ์ศรีความเป็นคน
การสร้างพึงพอใจในการปฏิบัติงาน
ความสำคัญ
สร้างความตั้งใจ+บรรยากาศ
ให้ความเป็นอิสระ
เสริมสร้างประชาธิปไตย
เสริมประสิทธิภาพในการทำงาน
องค์ประกอบที่มีผลต่อความพึงพอใจ
งาน
ค่าจ้าง
โอกาส/ตำแหน่ง
การยอมรับ
สภาพการทำงาน
ผลประโยชน์+สวัสดิการ
ผู้บริหาร
เพื่อนร่วมงาน
องค์กร+การจัดการ
ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
ปัจจัยด้านบุคคล
ประสบการณ์
เพศ
เพื่อนร่วมงาน
อายุ
เวลาในการทำงาน
เชาวน์ปัญญา
การศึกษา
บุคคลิกภาพ
ระดับเงินเดือน
ปัจจัยด้านงาน
ลักษณะงาน
ทักษะในการทำงาน
ฐานะวิชาชีพ
ขนาดของหน่วยงาน
ความใกล้-ไกลบ้าน
สภาพภูมิศาสตร์
ปัจจัยด้านการจัดการ
ความมั่นคง
รายรับ
ผลประโยชน์
โอกาสก้าวหน้า
อำนาจตามหน้าที่
บรรยากาศในการทำงาน
เพื่อนร่วมงาน
ความรับผิดชอบงาน
เทคนิคการสร้างความพึงพอใจ
สร้างทัศนคติบุคคลให้มีความพึงพอใจ
การยกย่องชมเชย
การดูแลเอาใจใส่
การให้โอกาสสร้างความมั่นคง
สร้างบรรยากาศในการทำงาน
ให้โอกาสแสดงความคิดเห็น
ให้ความเป็นธรรม
จิตวิทยาสำหรับนักส่งเสริม
การใช้จิตวิทยาเพื่อพัฒนา นวส.
แรงบันดาลใจ
การสร้างแรงบันดาลใจ
ความเชื่อมั่นในตนเอง
ความมุ่งมั่นในการลงมือ
มีความศรัทธาในผลสำเร็จที่มุ่งหวัง
แรงจูงใจ
ที่มา
ความต้องการ
ความต้องการทางกาย
ความต้องการทางสังคม
แรงขับ
สิ่งล่อใจ
การตื่นตัว
การคาดหวัง
การตั้งเป้าหมาย
แรงกระตุ้นในการสร้างแรงจูงใจ
แรงกระตุ้นภายใน
การตั้งเป้าหมาย
ความท้าทาย
ความมั่นใจ
คำมั่นสัญญา
แรงกระตุ้นภายนอก
วิธีการสร้างแรงจูงใจ
การจัดการความใฝ่ฝัน
การวางแผนเส้นทางสู่ความสำเร็จ
การหาความรู้รอบตัวมาปรับใช้
การแบ่งของเขตงานกับเรื่องอื่นๆ
ไม่หยุดพัฒนาตนเอง
การใช้จิตวิทยาเพื่อการจูงใจเกษตรกร
การจูงใจเพื่อเกิดความต้องการรับบริการ
ลักษณะความต้องการของเกษตรกรที่มารับบริการ
ความต้องการเป็นรากฐานการกระทำของเกษตรกร
ความต้องการที่ไม่ใช่ความขาดแคลน
เกษตรกรตะหนักถึงความต้องการที่แตกต่างกัน
ความต้องการสามารถเปลี่ยนแปลงได้
ความต้องการสามารถเปลี่ยนเป็นความปรารถนา
ความต้องการไม่มีวันสิ้นสุด
องค์ประกอบของกระบวนการจูงใจ
การจูงใจเพื่อให้เกิดการเรียนรู้
ให้ความสำคัญกับการจูงใจ
การสร้างแรงจูงใจเพื่อให้เกิดการเรียนรู้
เกิดความสนใจ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีส่วนร่วม
แข่งขันพร้อมกับความร่วมมือ
ตั้งเป้าหมาย
รู้ผลการเรียนของตนเอง
การให้แรงเสริมในการเรียนรู้
การใช้จิตวิทยาการเรียนรู้ในงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความหมาย
การปรับทัศนคติ แนวคิดและการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอย่างถาวร
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ทางปัญญาสังคม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มมนุษยนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มสร้างสรรค์ทางปัญญานิยม
จิตวิทยาการเรียนรู้ของผู้ใหญ่
ธรรมชาติการเรียนรู้ของผู้ใหญ่
ต้องการเรียนรู้
ลักษณะการเรียนรู้
ประสบการณ์
แนวโน้มการเรียนรู้
บรรยากาศการเรียนรู้
หลักการเรียนรู้ของผู้ใหญ่
ต้องการความต้องการเป็นผู้นำตนเอง
การจูงใจ
ความพร้อม
การให้โอกาส+เวลา
ความเชื่อมโยงกับสถานการณ์
สภาพแวดล้อมในการเรียนรู้
หลักการเรียนรู้ที่สามารถปรับใช้ในงานส่งเสริม
ความพร้อม
ความแตกต่างในการเรียนรู้
การมีส่วนร่วมในการเรียนรู้
การกำหนเวัตถุประสงค์
การจัดระบบเนื้อหาสาระ
การกระทำ+การรับรู้ผ่านประสาทสัมผัส
การถ่ายโอนการเรียนรู้
การปฏิบัติเพื่อให้เกิดการถ่ายโอนความรู้
เกิดขึ้นโดยอัตนมัติ
ถ่ายโอนเชิงบวก
การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเพื่อให้เกิดการเรียนรู้
สร้างบรรยากาศที่ดี
การสร้างความสุขทางกายภาพ
การให้เกียรติ
การวางแผนร่วมกัน
วิเคราะห์การเรียนรู้
กำหนดวัตถุประสงค์
การออกแบบประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้
การดำเนินการ
การประเมินผล