Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่4 การบวนการทางจิต, index, skin, learning-concept_23-2147507702,…
บทที่4 การบวนการทางจิต
-
4.2 สภาวะจิตรู้สำนึก (States of consciousness)Link Title
4.2.1 ความหมายของจิตรู้สำนึก (Defining consciousness) จิตรู้สำนึก (consciousness) หมายถึงการตระหนักรู้ถึงประสาทสัมผัสความคิดและความรู้สึกที่เป็นประสบการณ์ที่เกิดขึ้นในขณะนั้น
4.2.2 การเปลี่ยนแปลงสภาวะจิตสำนึก (Alternate state of consciousness หรือ ASC)) การเปลี่ยนแปลงสภาวะทางจิตหมายถึงนอกเหนือจากสภาวะในขณะตื่นของจิตรู้สำนึกสภาวะทางจิตจะมีการเปลี่ยนแปลงในขณะหลับความฝันการใช้สารเสพติดการสะกดจิตและการฝึกสมาธิ
4.2.3 ธรรมชาติของจิตรู้สำนึก (Nature of consciousness) จิตรู้สำนึกมีการทำหน้าที่ใน 2 ลักษณะดังนี้ 1) จิตสำนึกทำให้บุคคลสามารถควบคุมตนเองและสิ่งแวดล้อม 2) ควบคุมการคิดและพฤติกรรมของบุคคลในการสะท้อนการปรับตัวของบุคคลและศักยภาพในการแสดงออก
-
4.2.5 miilunarriu (Daydreams) การฝันกลางวันหมายถึงจินตนาการที่บุคคลสร้างขึ้นในขณะที่ตื่นหาก แต่การฝันกลางวันยังอยู่ภายใต้การควบคุมของบุคคล
4.2.6 นาฬิกาชีวิต (Circadian (hythrs) นาฬิกาชีวิตมาจากภาษาละตินคำว่า“ Circa” หมายถึงรอบ (around) และ“ se” หมายถึงวัน (May) หมายถึงวงรอบทางชีววิทยาที่เกิดขึ้นอย่างช้าๆในรอบ 24 ชั่วโมงในมนุษย์และทุกเผ่าพันธุ์
4.2.7 การนอนหลับ (Sleep) การนอนหลับเป็นความต้องการของร่างกายตามหน้าที่ที่ปกติของมนุษย์โดยใช้เวลาประมาณ 7-8 ชั่วโมง (Gerrig and Zimbardo 2005: 151) บางครั้งช่วงเวลาในการนอนหลับของแต่ละบุคคลอาจมีความแตกต่างกันซึ่งขึ้นอยู่กับว่าบุคคลแต่ละบุคคลใช้ระยะเวลาในการนอนหลับมากน้อย
4.2.8 ทฤษฎีการนอนหลับ (Sleep theory) เราคงมีข้อสงสัยว่าเพราะเหตุใดบุคคลจึงมีช่วงเวลาแห่งการนอนหลับและการตื่นตามปกติในแต่ละวันคำถามดังกล่าวนี้ได้มีนักวิจัยชื่อ Dale Edgar และ William Derment ในปี ค.ศ. 1992 เสนอแนวคิดรูปแบบกระบวนการตรงกันข้ามของการนอนหลับและการตื่น (opponent-process model)
4.2.9 ความฝัน (Dream) ความฝันคือสภาวะการเปลี่ยนแปลงของจิตรู้สำนึกที่มีการสร้างจินตนาการเพียงชั่วคราวที่สับสนกับโลกแห่งความเป็นจริง
4.2.10 ปัญหาการนอนหลับ (Sleep disorders) ปัญหาการนอนหลับเป็นปัญหาที่สร้างผลกระทบต่อสุขภาพกายและจิตของบุคคลประกอบด้วยดังนี้
4.2.11 การสะกดจิต (Hypnosis) การสะกดจิตหมายถึงกระบวนการอย่างเป็นระบบที่ทำให้บุคคลตกอยู่ภายใต้สภาวะความเคลิบเคลิ้มในระดับสูงและได้รับอิทธิพลการชักจูงจากบุคคลอื่นด้วยความเต็มใจและความร่วมมือของบุคคลเปรียบเสมือนบทบาทสมมติที่สร้างขึ้นและเป็นการเปลี่ยนสภาวะของจิตรู้สำนึกอีกประเภทหนึ่ง
- 2.12 การฝึกสมาธิ (Meditation) การฝึกสมาธิหมายถึงเป็นรูปแบบของการเปลี่ยนแปลงจิดรู้สำนึกที่ก่อให้เกิดการตระหนักรู้ถึงตนเองเพิ่มขึ้นและมีสภาวะความสุขสงบในระดับลึก
4.2.13 การใช้สารเสพติด (Drug use) การใช้สารเสพติดหรือที่เรียกว่า“ psychoactive drugs” คืออีกสาเหตุหนึ่งที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงการทำงานของจิตรู้สำนึกทั้งในระดับสูงและต่ำและส่งผลต่ออารมณ์การรับรู้และพฤติกรรมของบุคคลสารเสพติดแต่ละชนิดจะมีสารเคมี
-
4.4 ความจำ (Memory)
4.4.1 ความหมายของความจำ (Defining memory) Gerrig and Zimbardo (2005: 206) กล่าวว่าความจำหมายถึงรูปแบบในการประมวลผลข้อมูล (information processing) และกระบวนการที่มีการบันทึก (record) จัดเก็บข้อมูล (store) และค้นข้อมูลและประสบการณ์ต่างๆ
4.4.2 ระบบความจำ (The three memory System) รูปแบบขั้นของความจำได้รับการพัฒนาขึ้นมาโดย Richard Atkinson และ Richard Shiffon (1968) ในขณะที่รูปแบบอื่นได้รับการเสนอขึ้นมาโดยนักวิจัยต่างๆ แต่รูปแบบขั้นความจำของ Richard Atkinson และ Richard Shiffin ได้รับการยอมรับมากกว่าซึ่งแบ่งรูปแบบ
-
4.4.4 สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการค้นคืนข้อมูล (Factors influencing information retrieval) ในกระบวนการจัดเก็บข้อมูลบุคคลต้องมีการค้นคืนข้อมูลเพื่อนำกลับมาใช้ตามที่ต้องการส่วนใหญ่วิธีการค้นคืนมีหลักการที่สำคัญดังนี้
4.4.5 รูปแบบกระบวนการประมวลผลข้อมูลความจำ (Information processing model) นักจิตวิทยาเริ่มต้นศึกษาเรื่องความจำในตอนปลายศตวรรษที่ 19 ถึงแม้ว่าการศึกษาความจำจะตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของแนวทัศน์ทางด้านพฤติกรรมนิยมและการรู้คิด
4.4.7 การลืม (Forgetting) นักจิตวิทยาชาวเยอรมันที่ชื่อ Hermann Ebbinghaus (1885/1964) คือบุคคลแรกที่เป็นผู้บุกเบิกการศึกษาเรื่องการลืม (forgeting) โดยการทดสอบกับตนเอง
1) สาเหตุของการลืม (Causes of forgetting) นักวิจัยได้เสนอข้ออธิบายถึงการสูญเสียความจำในสภาวะปกติของมนุษย์โดยเน้นถึงความสำคัญของการประสบปัญหาในการเข้ารหัสการจัดเก็บข้อมูลและการค้นคืนข้อมูลเป็นประเด็นในการพิจารณา
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-