Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
6.2.5 Metabolic syndrome ผู้ป่วยเบาหวาน - Coggle Diagram
6.2.5 Metabolic syndrome ผู้ป่วยเบาหวาน
Metabolic Syndrome หรือโรคอ้วนลงพุง มีความผิดปกติในการเผาผลาญ ทำให้เกิดภาวะดื้อต่ออินซูลิน ส่งผลให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูง ไขมันในเลือดผิดปกติ ในเบาหวาน ทำให้ตับอ่อน ต้องสร้างอินซูลินในปริมาณมากเพ่อรักษาระดับน้ำตาลในกระแสเลือด
เกณฑ์การวินิจฉัย
เกณฑ์องค์การอนามัยโลก BMI >= 25 kg/m รอบสะโพก มากกว่า 0.9ในชาย มากกว่า 0.8 ในเพศหญิง ไตรกลีเซอไรด์ มากกว่า 150 mg% HDL-Clores น้อยกว่า 35mg% ในเพศชาย น้อยกว่า 39 mg%ในเพศหญิง BP>= 140/90 mmHg กินยาความดัน มีภาวะดื้ออินซูลิน อย่างน้อย 2ข้อ DM type 2 IFGน้ำตาลในเลือดอดอาหาร 100-126 mg% IGT ความทนต่อกลูโคส 140-199 mg%
สหพันธ์เบาหวานโลก IDF ต้องมีความผิดปกติ2ใน4ข้อ ไตรกลีเซอไรด์ มากกว่า 150 mg% HDL-clores < 40 ในชาย < 50 ในหญิง BP > 130/85 mmHg IFG>=100mg%
ในประเทศไทยใช้เกณฑ์ IDF
โรคเบาหวาน ลักษณะสำคัญคือ มีระดับน้ำตาลในเลือดสูง มีผลมาจากความผิดปกติของการหลั่ง อินซูลิน
Type 1 diabetes mellitus ส่วนใหญ่เกิดจาก Autoimmune เกิดจากหลายปัจจัย ร่วมกันทำลาย Beta cell ถ้าถูกทำลายมาก80%จึงทำให้เป็นเบาหวาน
Type 2 diabete mellitus เกิดจาก ภาวะดื้ออินซูลิน ร่วมกับ Beta cell ทำงานลดลง
การวินิจฉัย
หิวบ่อย ดื่มน้ำบ่อย ปัสสาวะบ่อย น้ำหนักลดลงโดยไม่ทราบสาเหตุ ตรวจ กลูโคส มากกว่า200mg%
แนวทางคัดกรอง
อายุ 35 ปีขึ้นไป ดัชนีมวลกายเกิน รอบเอวเกินมาตรฐาน ความดันสูง กินยาความดัน ระดับไขมันในเลือดสูง ประวัติเบาหวานตอนตั้งครรภ์ ตรวจพบ IFG/IGT มีโรคหัวใจ กลุ่มอาการถุงน้ำรังไข่
วิธีการคัดกรอง
FPG ตรวจระดับกลูโคสหลังอาหาร 8 hr พบค่า >= 126 mg% ให้ตรวจยืนยันอีกครั้งแต่ต่างวัน ถ้าตรวจแล้วยังมากแสดงว่า เบาหวาน
เจาะเลือดปลายนิ้ว DTX FCBG>=126mg% ให้ตรวจยืนยันด้วย FPG ในวัน/สัปดาห์ต่อไป ถ้าตรวจ ขณะไม่อดอาหาร >=110mg% ยืนยันด้วย FPG
OGTT ต้องงดอาหารก่อนดื่มน้ำตาล75g รอ 2hr เจาะเลือด ถ้า2hrหลังกิน มากกว่าเท่ากับ 200mg% วินิจฉัยเป็นเบาหวาน แม่นยำกว่าแต่ความจำเพาะไม่ดี
HbA1c ประเทศไทยไม่แนะนำให้ใช้ ควรติดการการควบคุมน้ำตาล 3-4เดือนที่ผ่านมา
ภาวะแทรกซ้อน
Diabetic ketoacidocis
การขาดอินซูลินร่วมกับความเครียด ทำให้มีน้ำตาลในเลือดสูง และมีการสลายตัวของไขมันมากขึ้น ทำให้ตับสร้างสารคีโตนเพิ่ม ส่งผลให้เลือดเป็นกรดคั่ง ทำให้ผู้ป่วยหิวบ่อย กระหายน้ำ ปัสสาวะ ปวดท้อง อาเจียน หายใจหอบ ลึก ลมหายใจกลิ่นอะซิโตน สับสน ซึมลง ไม่รู้สึก มักพบในเบาหวานชนิด1ได้ง่ายกว่า ชนิด 2
อาการอาการแสดง
การวินิจฉัย
การรักษา
การพยาบาล
HHSไม่มีสารคีโตน มีน้ำตาลในเลือดสูงมาก ส่วนใหญ่มากกว่า 800 mg% มีอาการของโรคเบาหวาน ร่วมกับอาการทางสมองหลายอย่าง ชักกระตุก พูดไม่ได้ ตามองไม่เห็นบางส่วน สับสน ผู้ป่วยขาดน้ำมากและมีความผิดปกติของไต พบบ่อยในเบาหวาน ชนิด 2
การวินิจฉัย น้ำตาล 600-1200 mg% serum osmolality สูงกว่า 350 mOsmol/kg มีของเสียในเลือด จากภาวะขาดน้ำ โปแทสเซียมต่ำจากการสูญเสียไปกับปัสสาวะ
Hypoglycemia
ออโตโมนิค ใจสั่น ชีพจรเต้นเร็ว รู้สึกหิว มือสั่น ความดันสูง กระวนกระวาย ชาบริเวณรอบปาก ปลายมือปลายเท้า
อาการแสดงของสมองขาดกลูโคส
การวินิจฉัย น้ำตาลน้อยกว่า 70 mg% มีอาการแสดงของน้ำตาลต่ำ หายไปเมื่อน้ำตาลสูงขึ้น
การประเมินความรุนแรง
mild hypoglycemia moderate hypoglycemia severe hypoglycemia