Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:recycle: บทที่ 3 ส่วนประกอบที่สำคัญของพืชสมุนไ…
:recycle:
บทที่ 3
ส่วนประกอบที่สำคัญของพืชสมุนไพร
สมุนไพรเพื่อความงาม :<3:
เวชสำอาง
แปลมาจากคำว่า “Cosmeceutical products
เวชสำอางใช้แล้วมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของร่างกายได้
คือชื่อกึ่งๆระหว่างยากับเครื่องสำอาง
เครื่องสำอาง
สิ่งปรุงรวมทั้งเครื่องหอมที่ใช้บนผิวหนัง หรือส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายมนุษย์ที่มุ่งหมายสำหรับทำความสะอาด ป้องกัน แต่งเสริมเพื่อความงาม หรือเปลี่ยนแปลงรูปลักษณะ โดย ถู ทา พ่นหรือโรยเป็นต้นโดยที่ไม่มีผลต่อกำรเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของร่างกาย
Anti-acne
สารผสมกับการรักษาสิว
ยาเบญจโลกวิเชียร ยาห้าราก ยาแก้วห้าดวง
ต้านเชื้อ P.acnes, S.epidermidis, S.aureus
สารสกัดจากเปลือกมังคุด
โลชั่นวุ้นว่านหางจระเข้และน้ำมันกะเพรา
น้ำมันหอมระเหยใบมะกรูดผสม
Anti aging
สารสกัดจากรำข้าว
เพิ่มความยืดหยุ่นของเซลล์ที่แก้ม
ช่วยเพิ่มไขมันผิวหนังบริเวณหน้าผาก
เพิ่มความชุ่มชื่นผิว
ผลแตงกวา
น้ำคั่นผสมลงในผลิตภัณฑ์มาร์คหน้า
น้ำจากผลแตงกวาในครีมบำรุงหน้า
บัวบก
เจล ช่วยให้ผิวยืดหยุ่นและกระชับ
ครีม ลดการหย่อนคล้อยของผิวและจุดด่างดำบนใบหน้า
ลิปสติก ลดความลึกและรอยย่นบนริมฝีปาก
ผลมะขามป้อม
ลดเลือนริ้วรอย
ฤทธิ์กระตุ้นการสร้างคอลลาเจน
ว่านหางจระเข้
เพิ่มความชุ่มชื่น
ให้กับผิว
ลดรอยเหี่ยวย่น
ลดจุดด่างดำ
Anti pollution
ป้องกันการเสื่อมสภาพจากมลภาวะ
Whitenning
Hair Cosmetic
ทำให้ผมงอก
ขิง ยับยั้งการงอกของเส้มผม
รักษารังแคจากเชื้อรา
Nutri cosmetic
อาหารกับผิวสวย
ถั่วเหลือง ยับยั้งเอนไซม์ที่ทำลายเซลล์ผิวหนัง
ผัก ผลไม้สีแดง/เหลือง ช่วยป้องกัน UV
ผักใบเขียว ลดริ้วรอยเหี่ยวย่น
สมุนไพรที่ใช้รักษาโรคผิวหนัง :<3:
กำจัดเหา
น้อยหน่า
ใบน้อยหน่าสด
เมล็ดน้อยหน่า
ครีมเมล็ดน้อยหน่า
รักษาแผลสด
มะขาม
ขมิ้นชัน
รักษาแผลไฟไหม้ น้ำร้อนลวก
ชาจีน
บัวบก
ว่านหางจระเข้
รักษาแผลเรื้อรังจากการฉายรังสี
ว่านหางจระเข้
ยาสารละลายพญายอ
รักษาผื่นคัน ลมพิษ
หญ้าคา
พลู
ยาเจลพลู
ยาคาลาไมน์พญายอ
รักษาผิวหนังพุพอง น้ำเหลืองเสีย
เหงือกปลาหมอ
ขมิ้นชัน
แก้พิษแมลงสัตว์กัดต่อย
ตำลึง
ผักบุ้งทะเล
พญายอ
รักษาเริม งูสวัด
ตำลึง
พญายอ
ครีมพญายอ
รักษากลากเกลื้อน
ขมิ้นชัน
กระเทียม
ข่า
อันตรกิริยาของยสมุนไพร :<3:
ปฏิกิริยาทางเภสัชวิทยาระหว่างกันของสารทั้งสองชนิดทั้งในแง่ของการเปลี่ยนแปลงระดับของยาในร่างกายการต้านฤทธิ์การเสริมฤทธิ์การเพิ่มหรือลดผลข้างเคียงของยา การเกิดพิษ หรืออาจทำให้เกิดฤทธิ์ใหม่
อันตรกิริยาทางด้านพลศาสตร์
การออกฤทธิ์เสริมกัน
การออกฤทธิ์ต้านกัน
คือปฏิกิริยาที่มีผลเปลี่ยนแปลงฤทธิ์ของยาทั้งทางด้านชีวเคมีและสรีรวิทยา แต่ไม่มีผลต่อระดับความเข้มขนของยาในร่างกาย
อันตรกิริยาทางด้านเภสัชจลศาสตร์
ปฏิกิริยาที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงระดับยาในร่างกายไปจากปกติ ทั้งในเลือด เนื้อเยื่อ หรือตำแหน่งยาที่ออกทธิ์
การดูดซึมยา
เพิ่มการดูดซึม
ลดการดูดซึม
เกิดสารประกอบที่ซับซ้อน
เพิ่มการเคลื่อนที่ผ่านทางเดินอาหาร
การกระจายยา
การจับตัวของยา
การกระจายตัวยาจากเลือดผ่านเนื้อเยื่อ
การเปลี่ยนแปลงยา
การขับยาออกจากร่างกาย
แนวทางการป้องกันอันตรกิริยาของสมุนไรและผลิตภัณฑ์เสริมอาหารกับยาแผนปัจจุบัน
1.Medical herbal and dietary supplement reconciliation
จะทำให้ทราบถึงยา สมุนไพร และผลิตภัณฑ์เสริมอาหารทั้งหมดที่ผู้ป่วยได้รับ
2.การทราบถึงชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อสามัญชื่อท้องถิ่นหรือชื่อพ้องของสมุนไพรและส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์เสริมอาหารแต่ละชนิดจะทำให้สื่อสารกับผู้ป่วยหรือผู้บริโภคได้ดีขึ้น
3.อันตรกิริยาระหว่างยากับสมุนไพรและผลิตภัณฑ์เสริมอาหารบางชนิดสามารถป้องกันได้
สมุนไพรที่ใช้เป็นยาแก้ไอ ขับเสมหะ :<3:
ไอและระคายคอจากเสมหะ
เช่น
ดีปลี
เพกา
ขิง
มะขามป้อม
มะนาว
มะขาม
มะแว้งเครือ
มะแว้งต้น
สมุนไพรที่ใช้เป็นยารักษากระดูกและกล้ามเนื้อ :<3:
ลูกประคบ
คือสิ่งที่เกิดจากภูมิปัญญาจากบรรพบุรุษที่ใช้พืชสมุนไพรในท้องถิ่นนำมาใช้ในการรักษา/ช่วยไหลเวียนของโลหิต
ส่วนประกอบ
ใบส้มป่อย เกลือแกง การบูร พิมเสน ขิงสด
ว่านนางคำ ขมิ้นอ้อย ว่านน้ำ ใบมะขาม เปลือกชะลูด
ขมิ้นชัน ตระไคร้บ้าน ผิวมะกรูด เหง้าไพล
ใช้แทนยาปัจจุบัน
เถาวัลย์เปรียง
สหัสธารา
ไพล
เจลพริก
สมุนไพรที่ใช้เป็นยาขับลม :<3:
โรคกระเพาะอาหาร
ขมิ้นชัน กล้วยน้ำว้า
ท้องอืด
ขมิ้นชัน
ขิง
ยาเบญจกูล : ดอกดีปลี รากช้าพลู เถาสะค้าน รากเจตมูลเพลิง ขิง
ยาธาตุอบเชย : อบเชยเทศ ชะเอมเทศ กานพลู เปลือกสมุลแว้ง กระวาน เมนทอล การบูร
สมุนไพรที่ใช้เป็นยาแก้ไข้ :<3:
ฟ้าทะลายโจร
บอระเพ็ด
ยาจันทน์ลีลา : โกฐสอ โกฐเขมา โกฐจุฬาลัมพา แก่นจันทน์ขาว แก่นจันทน์แดง เถาบอระเพ็ด ลูกกระดอม รากปลาไหลเผือก พิมเสน
สมุนไพรที่ใช้ขับปัสสาวะ :<3:
ขัดเบา
ตระไคร้
สับปะรด
ขลู่
หญ้าคา
กระเจี๊ยบแดง
หญ้าหนวดแมว
การใช้กัญชาในทางการแพทย์
:<3:
ประวัติศาสตร์การใช้กัญชา
กัญชา คือ พืชออกฤทธิ์ต่อ จิตประสาทชนิดแรก
หลักฐานเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของมนุษย์กับกัญชาที่เก่าแก่ที่สุด
การขุดค้นพบโครงกระดูกมนุษย์อายุราว 10,000 ปีอยู่คู่กับเศษเรซินของกัญชาที่หลงเหลือจากการเผาไหม้ของกองไฟและเครื่องปั้นดินเผาบรรจุเมล็ดกัญชาที่ด้านในสุดของถ่าในเอเชียกลาง
ประวัติศาสตร์การใช้กัญชาทางการแพทย์
ในช่วงเวลา 8,000 ก่อนคริสตกาลกัญชาถูกบันทึกว่าเป็นพืชไร่ที่เก่าแก่ที่สุดชนิดหนึ่ง
ก่อนคริสตกาล ในยุคเดียวกันนั้นมีการบันทึกการใช้กัญชาในตำรับยาโบราณของอินเดีย
ประวัติการใช้กัญชาในสยามประเทศ
สมัยอยุธยา
ตำรับยาไทยที่มีส่วนผสมกัญชานั้น มักจะผสมพริกไทยเพื่อขับลมออกด้วย
การใช้กัญชาในนานาประเทศ
ออสเตรเลีย กำหนดให้การใช้กัญชาเพื่อการแพทย์ถูกกฎหมาย ตั้งแต่ปี 2016
สหราชอาณาจักร มีการอนุญาตให้ใช้กัญชาในทางการแพทย์ได้แล้วตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2018
เกาหลีใต้ มีการอนุญาตให้ใช้กัญชาในทางการแพทย์ได้แต่มีการควบคุมอย่างเคร่งครัด
เลโซโท ประเทศแรกในทวีปแอฟริกันที่อนุญาตให้มีการเพาะปลูกกัญชาเพื่อใช้ในทางการแพทย์ได้อย่างถูกกฎหมาย
สหรัฐอเมริกา อนุญาตให้ใช้กัญชาในทางการแพทย์ได้แล้วทั้ง หมด 33 จากทั้งหมด 50 รัฐ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกัญชาในประเทศไทย
พ.ร.บ. ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2562อนุญาตให้ใช้ประโยชน์จากกัญชาและกระท่อมเพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ในการรักษาผู้ป่วยหรือการศึกษาวิจัยและพัฒนาภายใต้การควบคุมดูแลของผู้เชี่ยวชาญตามมาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพตามที่ได้ระบุในกฎหมายเท่านั้น
เภสัชพฤกษศาสตร์ของกัญชา
ผิวทุกส่วนบนต้นกัญชาจะมีขนมีต่อมลักษณะคล้ายเรซินใส
ที่เรียกว่า “ไตรโคม”
มี 3 สายพันธุ์ที่พบบ่อย
Cannabis sativa (พบมากในไทย
Cannabis indica
Cannabis rudealis
เภสัขวิทยาของกัญชา
Endocannabinoidsในร่างกายเป็นส่วนประกอบทางเคมีที่ร่างกายมนุษย์และสัตว์สร้างขึ้นได้เองตามธรรมชาติ
ออกฤทธิ์โดยการเชื่อมต่อกับ cannabinoid receptorการเข้าไปกระตุ้น receptors ต่าง ๆ
ผลิตภัณฑ์กัญชาทางการแพทย์ที่ได้ประโยชน์
ภาวะคลื่นไส้อาเจียนจากเคมีบำบัด
โรคลมชักที่รักษายาก และโรคลมชักที่ดื้อต่อยารักษา
ภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็ง ในผู้ป่วยโรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง
4.ภาวะปวดประสาท
ตำรับยาแผนไทยที่มีกัญชา
ยาน้ำามันสนั่นไตรภพ
2.ยาอัคคินีวคณะ
5.ยาไฟอาวุธ
ยาแก้ลมเนาวนารีวาโย
ยาแก้นอนไม่หลับ / ยาแก้ไขผอมเหลือง
4.ยาศุขไสยาศน
3.ยาแก้ลมขึ้นเบื้องสูง
ยาแก้โรคจิต
ยาอัมฤตโอสถ
ยาไพสาล
ยาอไภยสาล
ยาแก้ลมแก้เส้น
ยาทำลายพระสุเมร
ยาทาริดสีดวงทวารหนักและโรคผิวหนัง
ยาทัพยาธิคุณ
ยาแก้สัณฑฆาต กล่อนแห้ง
สมุนไพรที่ใช้เป็นยาแก้ท้องเสีย
:<3:
เช่น
ฟ้าทะลายโจร
ทับทิม
กล้วยน้ำว้า
มังคุด
ฝรั่ง
สีเสียดเหนือ
ยาเหลืองปิดสมุทร
ยาธาตุบรรจบ
ผงถ่าน
ยาผงกล้วย
สมุนไพรที่ใช้ขับพยาธิ :<3:
พยาธิลำไส้
เช่น
มะหาด
มะขาม
มะเกลือ
เล็บมือนาง
ฟักทอง
สะแก
สมุนไพรที่ใช้เป็นยาระบาย :<3:
ท้องผูก
เช่น
ขี้เหล็ก
คูน
แมงลัก
ขิง
มะขามแขก
กะเพรา
มะขาม
ยอ
ยาบรรเทาท้องผูก
เช่น
ยาธรณีสัณฑะฆาต
ยาชุมเห็ดเทศ
ยาถ่ายดีเกลือฝรั่ง
ยามะขามแขก
สมุนไพรที่ใช้แต่งสี :<3:
สีผสมอาหารจากธรรมชาติ
สีเขียว :check:
ใบเตยหอม
สีแดง :check:
เช่น
กระเจี๊ยบแดง
ฝาง
ข้าวแดง
ถั่วแดง
หัวบีทรูท
ฝรั่ง
สีน้ำตาล :check:
โกโก้
สีเหลือง :check:
เช่น
ดอกกรรณิกา
ขมิ้น
คอกคำฝอย
คำแสด
ลูกตาล
ฟักทอง
มันเทศ
พุด
หญ้าฝรัน
สีส้ม :check:
แครอท
ส้มเขียวหวาน
สีดำ :check:
กาบมะพร้าว
ถั่วดำ
สีม่วง :check:
เช่น
ข้าวเหนียวดำ
ผักปลัง
ดอกอัญชัน
สมุนไพรที่ใช้เป็นยาฆ่าแมลง ไล่แมลง :<3:
สมุนไพรไล่ยุง
เช่น
กะเพรา
มะกรูด
ไพทีรัม
ขมิ้น
สมุนไพรไล่มอด
เช่น
กะเพรา
พริกไทยดำ
พริกแห้ง
ใบมะกรูดสด
กระวาน
กานพลู
สมุนไพรไล่มด
เช่น
พริกป่น
ขมิ้น
หน่อไม้ดอง
พริกสดและผิวมะกรูด
สมุนไพรไล่ปลวก
เช่น
ใบขี้เหล็ก
น้ำส้มสายชู
ข่า ตะไคร้ กระเทียม
เกลือ
สมุนไพรไล่แมงมุม
เช่น
เปเปอร์มิ้นต์
เกลือ
ส้ม
เกาลัด
สมุนไพรไล่แมลงสาบ
เช่น
ใบกระวานแห้ง
กานพลู
พริกไทย
สมุนไพรไล่แมลงวัน
เช่น
น้ำส้มสายชู
กระเทียม
เปลือกส้ม
ผักกลิ่นฉุน
ตะไคร้หอม
สมุนไพรฆ่าเหา
เช่น
หนอนตายหยาก
น้อยหน่า
ยูคาลิปตัส
ผักเสี้ยน
สมุนไพรไล่เห็บ หมัด
เช่น
มะขาม
น้อยหน่า
มะคำดีควาย
สะเดา
ไพล
เมล็ดมันแกว
พืชที่มีพิษ :<3:
การจำแนกกลุ่มของพืชพิษ
พืชที่มีผลต่อระบบทางเดินอาหาร
1 กลุ่มที่มีผลระคายเคืองต่อเยื่อบุปากและลำคอ
ออกฤทธิ์ทันทีทำให้เกิดอาการเจ็บปวดบริเวณปากและคอ
2 กลุ่มที่มีผลระคายเคืองต่อเยื่อบุผนังกระเพาะอาหาร
พืชเหล่านี้จะทำให้เยื่อบุกระเพาะอาหารอักเสบ
กลุ่มที่มีผลระคายเคืองต่อเยื่อบุลำไส้
ถ้ากินเข้าไป จะไม่มีอาการคันคอ แต่จะทำให้เกิดอาการปวดท้อง
อาเจียน ท้องเสีย หลังจากรับประทานเข้าไปภายใน 1 ชั่วโมง
4.กลุ่มที่มีผลทำให้กระเพาะและลำไส้อักเสบอย่างช้า ๆ
พืชพิษกลุ่มนี้เมื่อรับประทานเข้าไประยะเวลาหนึ่งจึงจะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อระบบทางเดินอาหาร
พืชที่มีพิษต่อระบบหลอดเลือดและหัวใจ
1 พืชที่มีสารกลุ่มคาร์ดิแอคกลัยโคไซด์
พืชกลุ่มนี้จะมีพิษเมื่อรับประทานเกินขนาด
การรักษา
พยายามทำให้อาเจียนหลังจากนั้นให้กินยาเม็ดถ่านเพื่อดูดซับพิษแล้วส่งโรงพยาบาลในทันที
2 พืชที่มีสารไซยาโนจินิคกลัยโคไซด์
สารไซยาโนจินิคกลัยโคไซด์เป็นสารที่สลายตัวได้เมื่อถูกความร้อน
พืชที่มีฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง
แบ่งได้3กลุ่ม
2.กลุ่มที่มีฤทธิ์ทำให้ชัก
.3 กลุ่มที่มีฤทธิ์ทำใหประสาทหลอน
1 กล่มุที่มีฤทธิ์กดประสาทส่วนกลาง
พืชที่ระคายเคืองต่อผิวหนัง
1 พืชที่มีหนามหรือขน และมีสารพิษ
จะต้องกำจัดขนพิษเหล่านัันออกไป โดยใช้เทียนไขลนไฟให้อ่อนตัว คลึงบริเวณที่ถูกขนพิษหรือใช้ข้าวเหนียวนึ่งสุกปั่นคลึงจนเป็นเนื้อเดียวกันนำมาคลึงบริเวณที่ถูกขนพิษให้ทั่วเพื่อให้ขนพิษติดขี้ผึ้งหรือข้าวเหนียวออกมา
แล้วทาด้วยยาคาลาไมน์ หรือครีมสเตียรอยด์
พืชที่มียาง
น้ำยางขาวให้ล้างหรือเช็ดด้วยแอลกอฮอล์ แล้วทาด้วยคาลาไมด์ และรับประทานยาแก้แพ้
3.พืชที่มีเอนไซม์
สามารถย่อยได้ด้วยโปรตีนจึงระคายเคืองเล็กน้อย
4.พืชที่มี calcium oxalates
พืชที่มีผลต่อระบบทางเดินปัสสาวะ
เมื่อกินเข้าไปจะเกิดอาการพิษภายใน 2 - 14 ชั่ว โมงเริ่มจากมีอาการปวดตามขาหนีบ ปัสสาวะยาก แสบขัดมีอาการปวดเวลาปัสสาวะ
การรักษา
แนะนำให้ดื่มน้ำมากๆแล้วส่งโรงพยาบาลหากมีอาการรุนเเรง
น.ส.พัชราภา ถนอมชื่อ ชั้นปีที่ 2 รุ่น 37 (62111301058)