Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
HEENT - Coggle Diagram
HEENT
การตรวจตา
- คิ้ว (eye brown) : การกระจายของคิ้ว การหลุดร่วง หยาบ แห้ง
- เปลือกตา (eye lid) : หนังตาตกหรือไม่ (Ptosis) เปลือกตามีก้อน
- ขนตา (eye lash) : การกระจายของขนตา มีขนตาม้วนเข้าข้างในหรือไม่
- ต่อมน้ำตา (Lacrimal gland) : มีการอักเสบของท่อน้ำตา ดูจะมีอาการบวมหัวตาและดั้งจมูก ถ้ากดอาจได้หนอง
- เยื่อบุตา (conjunctiva) : ต้องตรวจส่วนที่คลุมเปลือกตาด้านใน (palpebral part) อาจมีก้อน สีผิดปกติและส่วนที่คลุมตาขาว (bulbar part) ว่าซีด หรือแดง Injection
- กระจกตา (cornea) : ปกติเรียบ ใส มีขอบสี
ขาวรอบๆพบในผู้สูงอายุ (Arcus senilis)
- ตาขาว (sclera) : เหลืองหรือไม่ (Icteric sclera)
- ช่องม่านตา (anterior chamber) : สังเกตความลึก
มีเลือด มีหนองหรือน้ำขุ่นหรือไม่
- ม่านตา (iris) : สีเท่ากันทั้ง 2 ข้างหรือไม่
- รูม่านตา (pupil) : ดูสี ขนาด ตำแหน่ง รูปร่าง
ปฎิกิริยาต่อแสง (direct light reflex) และ
(consensual light reflex)
- เลนส์(lens) : ใสสะท้อนกับแสงไฟ
-
ตรวจหู
- ใบหู(pinna or auricle) : ดุและคลำตำแหน่งรูปร่าง และสิ่งผิดปกติ เช่น ก้อนไขมัน ถุงน้ำ
- รูหู (external auditory canal: EAC) ปกติรูหูยาว ประมาณ 1 นิ้ว ในผู้ใหญ่ จับใบหูดึงขึ้นข้างบน
เฉียงด้านหลังสำหรับเด็กให้จับใบหูดึงลง
ข้างล่างเฉียงด้านหลัง ตรวจดูว่า มีขี้หู มีแผลในช่องหู มีฝีหรื่อไม่
- เยื่อแก้วหู (ear drum or tympanic membrane)
ตรวจดูเยื่อแก้วหูว่ามีสีอะไร รอยแผล มีรูทะลุ
หรือไม ถ้าส่องไฟจะเห็น light reflex
อยู่ที่ส่วนล่างของแก้วหู
ตรวจการได้ยิน
- 1.การฟังเสียงนาฬิกา วางหน้าหู ห่าง 2-3 cm
2.กระซิบหน้าหูห่าง 1- 2 ฟุต
3.rinne test
4.weber test
การตรวจต่อมน้ำเหลือง
- ถ้าคลำพบขนาด มากว่าหรือเท่ากับ 1 cm แสดงว่า
ต่อมน้ำเหลืองโต เรียกว่า Lymphadenopathy
- การตรวจต่อมน้ำเหลือง ควรตรวจทุกบริเวณตั้งแต่
ศรีษะจนถึงบริเวณแขนขา
วิธีตรวจ
- ผู้ป่วยอยู่ในท่านั่ง เอียงศรีษะเล็กน้อยมาทางด้านที่
กำลังถุกตรวจ ทำให้กล้ามเนื้อไม่เกร็ง
- ผู้ตรวจยืนด้านหน้าหรือด้านหลัง ใช้มือข้างหนึ่ง
ประคองบริเวณท้ายทอย
- คลำโดยใช้แรงกดเบาๆ ที่ปลายนิ้วชี้และนิ้วกลาง
คลำวนเป็นวงกลมเล็กๆเบาๆ
การตรวจผม
- เส้นผม : ดูลักษณะเส้นผม มันละเอียด หรือหยาบแห้ง ผมร่วงหรือไม่ มีรังแค เหา มีกลิ่น หนังศรีษะมีแผลหรือไม่
การตรวจศรีษะ
- ศรีษะ : ดูรูปร่าง ลักษณะผม ถ้าคลำพบก้อนต้องทดสอบว่ากดเจ็บหรือไม่ ขนาดรูปร่าง ความนุ่มแข็ง และฟังว่ามีเสียง Bruit หรือไม่
- หน้า : ลักษณะใบหน้ามีความผิดปกติหรือไม่เช่น Down's syndrome , Thalassemic face , Moon face , มีผื่นแดงที่หน้า Butterfly rash
ใบหน้า : การตรวจดูความผิดปกติของการเคลื่นไหว
กล้ามเนื้อ เช่น การอ่อนแรงของเส้นประสาทสมองคู่ที่
7
:check: กัดฟัน :check:ย่นหน้าผาก :check:ให้เลิกคิ้ว
:check:ปากจู๋ : เป่าลมให้แก้มโป่ง
-
ตรวจปาก
- ดูริมฝีปากว่า ซีด แดง เขียวหรือไม่
เหงือก เยื่อบุกระพุ้งแก้มมีแผลหรือไม่
ผนังคอแดงหรือมีหนองหรือไม่
ต่อมทอนซิลโต แดงหรือไม่
ตรวจจมูก
- ใช้ไฟฉาส่องดู vestibule, nasal septum , turbinate ว่าบวม แดง
ซีดมีริดสีดวงจมูก มีน้ำมูก
การตรวจโพรงอากาศ
- คลำและเคาะบริเวณ Frontal
และ maxillary sinus
การตรวจคอ
- บริเวณลำคอมีอวัยวะที่สำคัญได้แก่
ต่อมไทรอยด์ หลอดลม หลอดเลือดใหญ่
ต่อมน้ำเหลือบริเวณคอ และไหปลาร้า
กล้ามเนื้อบริเวณคอ โดยสังเกตว่า มีคอแข็ง คอเอียงหรือก้อนที่ผิดปกติหรือไม่เช่น ต่อมน้ำลายโต ต่อมน้ำเหลืองโต
การตรวจหลอดลม
- ใช้การคลำ
- โดยให้ผู้ป่วยก้มคอเล็กน้อย เพื่อให้กล้ามเนื้อ
Sternocleidomastoid ย่อนตัว จากนั้นให้ใช้
นิ้วชี้และนิ้วกลางของมือที่ถนัด แยงที่ส่วนของ
Suprasternal notch จะรู้สึกนุ่มอยุ่บริเวณตรงกลาง
- หลอดลมเอียง เรียกว่า Trachea deviated to left/ right
การตรวจต่อมไทรอยด์
- วิธีตรวจ โดยการดู : สังเกตบริเวณที่เป็น
ตำแหน่งของต่อมไทรอยด์ว่ามีขนาดและ
รูปร่างอย่างไร ให้ผู้ป่ววยกลืนน้ำลายเพื่อจะได้สังเกตเห็นต่อมหรือ Nodule ของต่อมได้ง่ายขึ้น
การคลำต่อมไทรอยด์
- ผู้ตรวจอยู่ด้านหน้าหรือด้านหลังก็ได้
ใช้หลักการเดียวกันคือสอดมือเข้าใต้ Sternocleidomastoid และคลำในขณะ
ที่ผู้ป่วยกลืนน้ำลาย
- การฟัง : ใช้ Stethoscope ฟังว่ามีเสียงฟู่
(Bruit)หรือไม่เกิดจากมีเลือดมาเลี้ยงเพิ่มเติม