Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 1 สังคมไทยและการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก - Coggle Diagram
หน่วยที่ 1 สังคมไทยและการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก
สังคมโลก
การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก
สังคมอุตสาหกรรม
ประชากรเพิ่มขึ้นรวดเร็ว เมืองขายตัว
ชนชั้นผู้นำเก่ามีอำนาจทางการเมือง
เกิดระบบโรงงาน ระบบนายทุน
สังคมเทคโนโลยี
ผู้มีอำนาจเข้าถึงและยึดข้อมูลความรู้
เกิดปรากฎการณ์ใหม่ทางการเมือง
ใช้เทคโนโลยีขั้นสูงในการผลิตมากขึ้น
สังคมเกษตรกรรม
ครอบครัวขยายอยู่รวมเป็ฯชุมชน
ปกครองลักษณะอำนาจนิยมเบ็ดเสร็จ
มีการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออำนวยความสะดวก
สังคมยุคทรัพย์สินทางปัญญา
มีการสนับสนุน Knowledge worker
มีการจัดระเบียบความรู้
การพัฒนาวัดจากปริมาณทรัพย์สินทางปัญญา
สังคมแห่งความรู้
ทุกคนเข้าถึงเครือข่ายข้อมูลได้โดยตรง
มีรูปแบบการเรียนรู้ด้วยตัวเอง
ผลกระทบของสังคมโลกต่อสังคมไทย
ทางลบ
คนในสังคมโลกมีส่วนร่วมน้อยลง
การละเมิดสิทธิเสรีภาพส่วนบุคคล
เกิดผลด้านศีลธรรม
การเกิดช่องทางสงคม
การครองโลกทางวัฒนธรรม
เกิดการต่อต้านเทคโนโลยี
เกิดความเครียดในสังคม
เกิดอาชญากรรมบนเครือข่ายทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ทางบวก
มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
มีการใช้เทคโนโลยีทางการแพทย์
มีการพึ่งพิงและร่วมมือกันมากขึ้น
การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น
เกิดความรู้สึกท้องถิ่นนิยม (Localism)
มีระบบและช่องทางในการเข้าถึงผู้บริโภค
เป็นสังคมแห่งการสื่อสารจนเป็นสังคมชั้นเดียวกัน
ลักษณะของสังคมโลก
การร่วมมือกันระหว่างประเทศ
การเมือง
เศรษฐกิจ
เฉพาะด้าน
เกิดระบบเศรษฐกิจบนข้อมูลข่าวสาร
มีการพัฒนาวิจัยและพัฒนาข้อมูลข่าวสารความรู้ใหม่
การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ
เปลี่ยนถ่ายข้อมูลข่าวสาร
แรงงานด้านข่าวสารเพิ่มขึ้น
ใช้ระบบคอมพิวเตอร์
ผสมผสานแล้วแพร่กระจายไปส่วนต่างๆของโลก
สังคมไทย
ลักษณะของสังคมไทย
สังคมชนบท
ใช้เทคโนโลยีง่ายๆ
มีปัญหาด้านคุณภาพการศึกษา
ระบบสื่อสาร / คมนาคมล้าหลัง
อยู่ร่วมกันเป็ฯหมวดหมู่
มีการกระจายอำนาจมากขึ้น
พื้นที่ใหญ่คนอาศัยน้อย
อาชีพ รายได้จากเกษตร
สังคมเมือง
การคมนาคมสะดวก
ประชากรหลากหลาย
มีอาชีพหลากหลาย
คุณภาพการศีกษาดี
พื้นที่จำกัด คนอาศัยมาก
ความสัมพันธ์ห่างเหิน
ผลกระทบต่อสังคมไทยจากการเปลี่ยนแปลง
วิถีชีวิตเปลี่ยนไปจากเดิม
การเป็ฯสังคมแห่งความรู้
ประชากรภาคการเกษตรลดลง
การเป็ฯสังคมสารสนเทศ
เกิดช่องว่างของคนต่างรุ่น
การผสานภูมิปัญญาท้องถิ่นกับเทคโนโลยี
เป็นสังคมผู้สูงอายุ
มีความตื่นตัวในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
การเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลง
ความก้าวหน้า
การวิวัฒนาการ
กระบวนการ
การพัฒนา
สังคมไทยกับการเปลี่ยนแปลง
ด้านเศรษฐกิจ
มีการเปิดกว้างทางการต้า
นิยมสินค้าต่างประเทศ
มีการใช้บัตรเครดิต / ATM
ผลิตเพื่อการค้ามากขึ้น
มีการลงทุนมากขึ้น
มีแรงงานภาคอุตสาหกรรมมากขึ้น
ด้านวัฒนธรรม
ประเพณีเดิมหายไป
ประเพณีทางศาสนาน้อยลง
รับอิทธิพลจากตะวันตก
ด้านประชากร
มีการย้ายถิ่นฐาน
ความหนาแน่นประชากรไม่เหมาะสม
มีแนวโน้มลดลง
เป็นสังคมผู้สูงอายุ
ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสื่อสารและคมนาคม
ด้านสังคม
คนสูงอายุในชุมชนมากขึ้น
ความสัมพันธ์เป็ฯทางการขึ้น
โครงสร้างซับซ้อนขึ้น
มีการรวมกลุ่มเพื่อผลประโยชน์
องค์ประกอบ
ช่วงเวลา
ทิศทางการเปลี่ยนแปลง
ระดับ
ขนาดของการเปลี่ยนแปลง
ลักษณะ
อัตราของการเปลียนแปลง