Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตรวจร่างกายระบบประสาท - Coggle Diagram
การตรวจร่างกายระบบประสาท
ระบบประสาทมีหน้าที่ควบคุมหลัก 3 ประการ
2.การวิเคราะห์ข้อมูล
3.การสั่งงานและควบคุมการทำงานของร่างกาย
1.การรับความรับรู้สึก
ระบบประสาทส่วนกลาง
สมอง Brain
สมองใหญ่ Cerebrum
รับและควบคุม ระบบกล้ามเนื้อ ต่อมไร้ท่อ ระบบประสาทอัตโนมัติ
สมองน้อย Cerebellum
ควบคุมการสมดุล การเคลื่อนไหวของร่างกาย
ไขสันหลัง Spinal cord
เป็นที่อยู่ของเซลล์ ทำหน้าที่เคลื่อนไหว รับความรู้สึก ส่งกระแสประสาทไปยังสมอง ส่วนต่างๆของร่างกาย
ระบบประสาทส่วนปลาย
เส้นประสาทสมอง 12 คู่
เส้นประสาทไขสันหลัง 31 คู่
ระบบประสาทอัตโนมัติ
การตรวจทั่วไป
การเดิน ลักษณะที่แสดงออก
การตรวจระดับความรู้สึกตัว Conciouness
ระดับการรู้สติ
การตรวจสภาวะทางจิตใจ Mental status
การตัดสินใจการพูดและการใช้ภาษา
ความสามรถทางเชาว์ปัญญา
การตรวจประสาทสมอง Cranial Nerve
ประสาทสมองคู่ 3 Oculomotor nerve
ประสาทสมองคู่ที่ 4 Trochlear nerve
ประสาทสมองคู่ที่ 6 Abducens nerve
จะทำงานประสานพร้อมๆกัน มีหน้าที่เกี่ยวกับ การเคลื่อนไหวของลูกตา การตรวจ Accomodation รูม่านตาทั้งสองข้าง สาเหตุความผิดปกติของประสาทสมองคู่ที่ 3 พบในโรคม่านตาอักเสบ Iritis
ประสาทสมองคู่ที่ 2 Optic nerve
มีหน้าที่เกี่ยวกับการมองเห็น การตรวจประสาทคู่นี้คือ การตรวจวัด ลานสายตา จอตา
ประสาทสมองคู่ที่ 1 Olfactory erve
มีหน้าที่ในการดมกลิ่น ให้ผู้ป่วยดมกลิ่นแล้วบอก
ประสาทสมองคู่ที่ 12 Hypoglossal nerve
ให้ผู้รับบริการอ้าปากและแลบลิ้นเข้าออกเร็วๆ พร้อมตวัดลิ้นไปมา สังเกตขนาด ถ้าเอียงไปด้านใดด้านหนึ่ง แสดงว่ามีความผิดปกติ
ประสาทสมองคู่ที่ 11 Accessory nerve
กล้ามเนื้อ Sternocleidomastiod
ผู้ป่วยหันหน้าไปทางด้านหนึ่ง พยายามดันคางกลับไปทางเดิม คนปกติจะต้านแรงผู้ตรวจได้
กล้ามเนื้อ Traprzius
ให้ผู้ป่วยนั่งหรือยืนตัวตรงๆ สังเกตระดับไหล่ว่าเท่ากันหรือไม่ ผู้ตรวจกดไหล่ เพื่อดูกำลังของกล้ามเนื้อ
ประสาทสมองคู่ที่ 9 และ 10 Glossopharyngeal and Vagus nerve
ให้ผู้ป่วยร้อง อา พยาบาลสังเกตการยกตัวของลิ้นไก่ ปกติลิ้นไก่จะยกในแนวตรง
ทดสอบ Gag reflex โดยใช้ไม้กดลิ้นแตะที่ผนังคอกรือโคนลิ้น ปกติจะขย้อน
สังเกตว่ามีเสียงแหบขึ้นจมูก
มีหน้าที่การทำงานควบคุมการทำงานของลิ้นไก่ เพดานปากอ่อน หลอดคอ กล่องเสียง การหลั่งน้ำลาย การรับรสที่โคนลิ้น
ประสาทสมองคู่ที่ 5 Trigerminal nerve
การตรวจความรู้สึกเจ็บ Pain
ใช้เข็มหมุดปลายแหลม แตะหน้าผาก แก้ม คาง หนังศรีษะ
ความรู้สึกสัมผัส Touch Sensation
ใช้สำลีแตะที่เดียวกัน
กล้ามเนื้อการเคี้ยว
ให้ผู้ป่วยขบกรามเข้าออก ผู้ตรวจใช้นิ้วคลำที่กระพุ้งแก้มทั้งสองข้าง คนปกติจะพบการเกร็งทั้งสองข้างเท่ากัน
ประสาทสมองคู่ที่ 7 Facial nerve
ตรวจกล้ามเนื้อ Zygomaticus
ให้ผู้ป่วยยิงฟันดูการยกของมุมปาก
ตรวจกล้ามเนื้อ Orbicularis fris
ให้ผู้ป่วยเป่าแก้มทั้งสองข้าง ปากจู๋ ผิวปาก
ตรวจกล้ามเนื้อ Orbicularis oculi
ให้ผู้ป่วยหลับตา ปกติจะหลับตาได้ ผิดปกติจะมองเห็นตาขาว
ตรวจการรับรส บริเวณรับรสของลิ้น
ตรวจกล้ามเนื้อ Frontails
ให้ผู้ป่วยยักคิ้ว ดูหน้าผากย่น
ประสาทสมองคู่ที่ 8 Auditory nerve
Weber's Test สั่นแล้วเอามาแตะที่กลางศรีษะ
Rinne' Test เคาะให้าสั่นแล้วเอามาวางที่ mastoid procass
การตรวจการได้ยิน และการฟัง โดยใช้ Tuning Fork
การตรวจระบบประสาทรับความรู้สึก
Pain Sensation,Touch Sensation
การทดสอบจำแนกลักษณะของวัตถุโดยการสัมผัส พยาบาล นำวัตถุวางในมือของผู้รับบริการบอกว่าวัตถุคืออะไร
Vibration Sensation
รับรู้การสั่นสะเทือน โดยการใช้ส้อมเสียงความถี่ เคาะให้สั่นแล้ววางบนหลังกระดูก
Traced Figure Identification
การรับรู้สิ่งที่เขียนบนผิวหนัง
การตรวจระบบประสาทมอเตอร์
สามารถดูรายระเอียดการประเมินได้จาก ประเมินภาวะสุขภาะระบบ กระดูก ข้อ กล้ามเนื้อ
การตรวจปฏิกิริยาตอบสนอง Reflexes
แบ่งระดับความไว 4+ ไวมาก,3+ ไว,2+ ปกติ,1+ น้อยกว่าปกติ,0 ไม่มี
เป็นการชี้ตำแหน่งความผิดปกติของเส้นประสาทไขสันหลัง
ปฏิกิริยาตอบสนองชนิดลึก
ทดสอบ
Triceps reflex โดยให้ปลายแขนห้อย ใช้ไม้เคาะตรงบริเวณเอ็นของกล้ามเนื้อ ประมาณเนื้อข้อศอกด้านหลัง
ทดสอบ
Quadricep reflex (Femoral nerve) ทำโดยให้ผู้รับบริการนั่งห้อยเท้าที่ขอบเตียง พยาบาลใช้ไม้เคาะรี
ทดสอบ
Biceps reflex โดยให้ผู้รับบริการงอข้อศอกเล็กน้อยผู้ตรวจวางนิ้วหัวแม่มือลง และกดปลายนิ้วหัวแม่มือลงเล็กน้อยใช้ไม้เคาะรีแฟร๊กซ์
ปฏิกิริยาตอบสนองเชิงตื้น
Abdominal reflex ผู้รับบริการนอนหงาย ใช้วัตถุเขี่ยท้องรอบสะดือ ตอบสนองโดย ผนังหน้าท้องหดตามตัวกระตุ้น สะดือจะเอียงไปด้านที่ทำการทดสอบ
Cremasteric reflex ให้ผู้รับบริการนอนหรือนั่ง ใช้วัตถุทู่ๆ ขีดที่ด้านในต้นขา ตอบสนองคือถุงอัณฑะหดตัว
Cornaeal reflex เป็นการทดสอบเส้นประสาทสมองคู่ที่ 5
Planter reflex โดยให้ผู้รับบริการนอนหงายไม่เกร็งกล้ามเนื้อ ใช้วัตถุปลายทู่ขูดที่ฝ่าเท้าจากปลายด้านนอกมาทางนิ้วก้อยและวนไปทางนิ้วหัวเท้า การแปลผลถ้าหากมีการเหยียดออกของนิ้วเท้า ถือว่าปกติ
การตรวจการทำงานประสานกัน Coordination
ทดสอบ
finger to finger ให้ผู้ป่วยหลับตาและกางแขนออกเต็มที่ แล้วเหวี่ยงแขนขาเข้าในเป็นวงจนปลายนิ้วทั้งสองข้างมาแตะกันตรงกลาง
ทดสอบ
finger to nose to finger ใช้ปลายนิ้วสัมผัสจมูกตนเองและนำไปสัมผัสที่นิ้วพยาบาล พยาบาลเปลี่ยนตำแหน่งไปเรื่อยๆ
ทดสอบ
Romberg test ให้ผู้ป่วยหลับตา เท้าชิดกัน หงายฝ่ามือและเหยียดแขนไปทางด้านหน้า สังเกตว่าผู้ป่วยสามารถทรงตัวอยู่หรือไม่
ทดสอบ
finger to nose ยื่นนิ้วชี้ออกด้วย นิ้วชี้ของมือข้างหนึ่งสัมผัสที่จมูก นำนิ้วชี้ข้างที่สัมผัสจมูกไปสัมผัสกับปลายนิ้วชี้ข้างที่กางออก
ทดสอบ
heel to knee ผู้ป่วยนอน ยกขาข้างหนึ่งขึ้นและวางส้นเท้าจนปลายเท้าด้วยความเร็วพอสมควร ให้ผู้ป่วยไถส้นกลับเท้าขึ้น
Motor response
Obeys commands ทำตามคำสั่งได้ถูกต้อง 6
Localizes pain เมื่อกระตุ้นให้เจ็บได้สามารถปัดได้ถูกตำแหน่ง 5
Flexion withdrawal ขยับแขนขาหนีเมื่อเจ็บมากๆ 4
Flexion abnormal เมื่อกระตุ้นให้เจ็บแล้วผู้ป่วยไม่ปัดแต่งอแขนเข้าหาตัวตั้ง 2 ข้าง 3
Extension เหยียดแขนออกทั้ง 2 ข้างเมื่อเจ็บ 2
None ไม่ขยับเมื่อเจ็บ 1
Verbal response
Inappropriate words ตอบคำถามเพียง 2-3 คำ 3
Incomprehemsible sounds เสียงอืออา 2
Confused conversation ตอบคำได้ถูกแต่ไม่ถูกต้อง 4
None ไม่ตอบโต้ 1
Oriented ตอบคำถามได้ถูกต้อง 5
Eye open
To verbal command ลืมตาเมื่อเรียก 3
To pain กระคุ้นให้เจ็บจึงลืมตา 2
Spontaneously ลืมตาได้เอง 4
None ไม่ลืมตา 1