Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตรวจร่างกายระบบช่องท้อง, นางสาวณัฐมล จันทร์โป๊ ห้อง2B เลขที่ 15 รหัส…
การตรวจร่างกายระบบช่องท้อง
ใช้หลักการดู การฟัง การเคาะ และการคลำตามลำดับ
การฟัง
ใช้ Stethoscope ด้านbell ฟังแต่ละครั้ง ควรฟังให้ทั่วทั้ง 4 Quadrants และฟังอย่างน้อย 3นาที
เสียงที่ต้องฟัง 1. เสียงการเคลื่อนไหวของลำไส้ (Bowel sound) ปกติได้ยิน 6 –12 ครั้ง/นาที(Hypoactive / Hyperactive / Normoactive/ Absent bowel sound) 2. เสียงผิดปกติเช่น เสียงฟู่ (Bruit)เกิดจากความผิดปกติของหลอดเลือดแดง
การเคาะ
1.การตรวจการเปลี่ยนที่ของเสียงเคาะทึบ (Shifting dullness)
การตรวจการสั่นสะเทือนของสารน้ำ (Fluid thrill)
ตรวจหาสารน้ำในช่องท้อง อากาศ ตรวจขนาดของตับ ม้าม และก้อนในท้องร่วมกับการคลำ
การตรวจอาการแสดงแบบหลุมบ่อ (Puddle sign)เป็นการตรวจหาสารน้ำในช่องท้อง โดยเฉพาะที่จำนวนน้อย
การดู
1.รูปร่างลักษณะของช่องท้อง
2.บริเวณที่นูนหรือโป่งพองเฉพาะที่
3.แผลเป็น(Scars) รอยแผลผ่าตัด หรือลายที่ผนังหน้าท้อง(Striae)
4.หลอดเลือดดำที่โป่งพอง(Superficial vein dilatation)
สะดือ มีการดึงรั้งหรือไม่ ในผู้ที่มีการอักเสบหรือไส้เลื่อน (umbilical hernia)
การเคลื่อนไหวของกระเพาะอาหารและลำไส้ (visible peritalsis)
การเคลื่อนไหวของผนังหน้าท้องขณะหายใจ เข้า ออก
การคลำ
การคลำเบาๆหรือตื้นๆ (Light palpation)
Tenderness บริเวณที่กดเจ็บ
Rebound tenderness รู้สึกเจ็บเมื่อผู้ตรวจเอามือกดลึกๆและปล่อยโดยเร็ว
Rigidity การเกร็งของกล้ามเนื้อหน้าท้อง
Guarding หรือ Spasm เป็นการแข็งเกร็งของกล้ามเนื้อหน้าท้อง
Murphy’s sign ตรวจในรายที่สงสัยว่ามีถุงน้ำดีอักเสบเฉียบพลัน(Ac. Cholecystitis)
การคลำลึกๆหรือการคลำโดยใช้สองมือ (Deep/bimanual Palpation)
เป็นวิธีการที่ใช้ตรวจอวัยวะที่โตกว่าปกติและคลำหาก้อนในช่องท้อง
3.การคลำโดยวิธีเกี่ยว (Hooking technique)
วิธีตรวจ
ผู้ตรวจยืนทางขวาและหันหน้าไปทางปลายเท้าผู้ป่วยใช้นิ้วกดลงบริเวณใต้ชายโครงขวา แล้วดึงเข้าหาชายโครง ขณะที่ผู้ป่วยหายใจเข้าลึก ๆ
ตับ (Liver)
ลักษณะของตับ
1.ขนาด(size)นิยมวัดจากชายโครงขวาถึงขอบล่างของตับเป็นเซนติเมตร หรือความกว้างของนิ้วมือ(Finger breadth, FB)
2.ผิว (surface)เรียบ(smooth)หรือ ขรุขระ (nodular)
3.ขอบ(edge)บาง(thin)มน(blunt)หรือคมเรียบ(sharp)
4.ความนุ่มแข็ง (consistency) นุ่ม(soft)แน่น(firm)หรือแข็ง(hard)
5.การกดเจ็บ (tenderness)กดเจ็บหรือไม่
การเคาะ
วิธีตรวจ
ให้เคาะในแนวเส้นกลาง MCL. โดยเริ่มจากหน้าท้องด้านล่างต่ำกว่าสะดือซึ่งมีเสียงโปร่ง ค่อยๆเคาะขึ้นบนจนได้ขอบล่างของตับ ซึ่งมีเสียงทึบ แล้วเคาะจากบริเวณหน้าอกซึ่งมีเสียงโปร่ง ค่อย ๆ เคาะต่ำลงจนพบขอบบนของตับ จากนั้นจึงวัดความสูงของตับ (Liver span)
การคลำ
วิธีตรวจ
ใช้มือซ้ายรองรับทางด้านหลังผู้ป่วย มือขวาวางราบบนผนังหน้าท้อง ให้ปลายนิ้วชี้ไปทางศีรษะผู้ป่วยให้ผู้ป่วยงอเข่าขวาเล็กน้อย และหายใจเข้า-ออกลึก ๆ ช้า ๆ ทางปากเริ่มคลาจากหน้าท้องด้านขวาล่าง แล้วค่อย ๆ เคลื่อนขึ้นข้างบนเข้าหาชายโครงจนนิ้วคลาพบขอบตับ
การคลำม้าม
วิธีตรวจ
ใช้มือซ้ายดันจากด้านหลังของผู้ป่วยในระดับชายโครงซ้ายมือขวาวางบนหน้าท้องให้นิ้วตั้งฉากกับชายโครงด้านซ้ายเริ่มคลาที่หน้าท้องด้านล่างซ้าย เพื่อป้องกันการผิดพลาดในรายที่ม้าม
โตมาก ๆ แล้วค่อย ๆเลื่อนขึ้นข้างบนจนปลายนิ้วพบขอบม้ามซึ่งยื่นออกมาใต้ชายโครงซ้าย
จะสามารถคลำพบม้ามได้เมื่อม้ามโตกว่าปกติอย่างน้อย 3เท่าซึ่งพบได้ในผู้ป่วยที่มี Portal hypertension, Polycythemia,Thalassemia
เมื่อคลำพบก้อนในท้อง ต้องอธิบายถึง
1.ขนาด(Size)
2.ตำแหน่ง(Location)
3.รูปร่าง(Shape)
4.ผิว(Surface)
5.ขอบ(Edge)
6.ความนุ่มแข็ง(Consistency)
7.การกดเจ็บ(Tenderness)
8.การเคลื่อนไหว(Mobility)
9.การสั่นสะเทือน(Pulsation)
นางสาวณัฐมล จันทร์โป๊ ห้อง2B เลขที่ 15 รหัส 62123301038