Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สื่อเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น - Coggle Diagram
สื่อเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
ความหมายและประเภทของสื่อเพื่อการพัฒนา
เนื่องจากชนบทยังขาดแคลนปัจจัยพื้นฐานทางด้านกายภาพ
จะเห็นได้ว่าการพัฒนากับการสื่อสารมีความเกี่ยวข้องกัน
ดังนั้นการสื่อสารเพื่อการพัฒนาจึงหมายถึง“ การตัดสินใจต่างๆที่เกี่ยวกับพฤติกรรมการสื่อสารเพื่อนำเอาการสื่อสารไปใช้ให้ตรงตามเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ”
โดยเน้นความเสมอภาคการมีส่วนร่วมการพึ่งตนเองและความเท่าเทียมกันเพื่อกำจัดความยากจน
สื่อมวลชน
สื่อมวลชนประเภทสื่อสิ่งพิมพ์ Printed Media
สื่อมวลชนประเภทสื่ออิเล็กทรอนิกส์ Electronic Media
สื่อมวลชนจำแนกตามคุณสมบัติได้ 6 ประเภทคือ
หนังสือพิมพ์ วิทยุโทรทัศน์ นิตยสาร ภาพยนตร์ วิทยุกระจายเสียง อินเทอร์เน็ต
สื่อบุคคล
ผ่านช่องทางคือบุคคล
เป็นแบบเผชิญหน้า face-to-face communication
ข้อดีประสิทธิภาพสูงเพราะสามารถจูงใจผู้รับสาร เนื่องจากสามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
ข้อ จำกัด เสียเวลาค่าใช้จ่ายและแรงงานเนื่องจากต้องใช้คนเป็นจำนวนมาก
สื่อพื้นบ้าน
ในการพัฒนาท้องถิ่น นักนิเทศศาสตร์ ให้ความสำคัญกับสื่อพื้นบ้านว่ามีประสิทธิภาพมากที่สุดเนื่องจากเป็นสิ่งที่ใกล้ชิดกับมวลชนทำให้เข้าใจง่าย หาได้ง่าย
และเป็นสื่อที่แทบไม่ต้องใช้เหตุผลเชิงวิชาการใด ๆ
ตัวอย่างเช่น ลำตัด หมอลำ ลิเก หนังตะลุง โนรา เพลงบอก หุ่นกระบอก ละครชาตรี หนังใหญ่
สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
โดยส่วนใหญ่เทคโนโลยีเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับความเป็นอยู่ของสังคมสมัยใหม่
แต่เราสามารถปรับใช้ให้ถูกเพื่อนำมาพัฒนาท้องถิ่นได้
โดยนำมาใช้ประกอบการดำเนินชีวิตประจำวันเช่นช่วยทำให้งานรวดเร็ว ถูกต้อง แม่นยำ กว้างขวางและความเท่าเทียม
สื่อเฉพาะกิจและสื่ออื่น ๆ
ผลิตขึ้นมาโดยองค์กรหนึ่ง มีวัตถุประสงค์ใดหนึ่งโดยเฉพาะตรงตามความจำเป็น ความเกี่ยว ข้องความสนใจ
มีการกำหนดกลุ่มเป้าหมายชัดเจนแน่นอน (เจาะจง)
เช่นโปสเตอร์ใบปลิวแผ่นพับจดหมายข่าวเอกสารแนะนำหนังสือรายงานประจำปี
โดยทั้งนี้ผู้รับสารจะเป็นผู้เลือกเปิดรับสารเหล่านี้เอง