Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตรวจร่างกายระบบประสาท (Nervous System) - Coggle Diagram
การตรวจร่างกายระบบประสาท
(Nervous System)
ระบบประสาท
หน้าที่
1.รับความรู้สึก โดยอาศัยตัวรับความรู้สึก เช่น ผิวหนัง กล้าม ฯลฯ
2.การวิเคราะห์ข้อมูล โดยนำข้อมูลที่ได้รับจากภายนอกร่างกายมาแปลผล ตัดสินใจ และส่งต่อข้อมูล
3.การสั่งงานและควบคุมการทำงานของร่างกาย ทำโดยการรับสัญญาณจากประสาทส่วนกลางส่งไปยังอวัยวะต่างๆในร่างกาย
ระบบประสาทส่วนกลาง
สมอง
(Brain)
สมองใหญ่
(Cerebrum) รับความรู้สึก ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ ระบบต่อมไร้ท่อ และระบบประสาทอัตโนมัติ
สมองน้อย
(Cerebellum) ทำหน้าที่ควบคุมสมดุลการเคลื่อนไหว
ไขสันหลัง
(Spinal cord)
ที่อยู่ของเซลล์ประสาท
ส่งกระแสประสาทไปยังสมองและส่วนต่างๆของร่างกาย
ระบบประสาทส่วนปลาย
เส้นประสาทสมอง 12 คู่
เส้นประสาทไขสันหลัง 31 คู่
ระบบประสาทอัตโนมัติ
สิ่งที่ต้องทำการตรวจ
การตรวจทั่วไป เช่น การเดิน ลักษณะที่แสดงออก
การตรวจระดับความรู้สึกตัว การรับรู้วันเวลา สถานที่ บุคคล
การตรวจประสาทสมอง 12 คู่
การตรวจระบบประสาทมอเตอร์หรือการเคลื่อนไหว
การตรวจระบบประสาทรับความรู้สึก
การตรวจการปฏิกิริยาตอบสนอง
การตรวจการทำงานประสานกัน
ระดับความรู้สึก
Alert
รู้สึกตัวปกติ
Drawsiness
ซึมลง อยากหลับต้องปลุกเรียก แต่พูดรู้เรื่อง
Confuse
ซึมลงมาก พูดจาไม่รู้เรื่อง สับสน
เรียกว่า Disorientation
Delirium
เอะอะอาละวาดมากขึ้น หงุดหงิด ตอบคำถามไม่ได้ บางครั้งต้องจับมัดไว้
Stupor
ซึมมาก ต้องปลุกแรงๆ ลืมตาปัดแล้วหลับต่อ เรียกว่า Semi Coma
Coma
ไม่รู้สึกตัว ไม่ตอบสนอง
การตรวจประสาทสมอง
คู่ที่1 Olfactory nerve
ให้ผู้ป่วยหลับตา ดมกลิ่น แล้วบอก
คู่ที่2 Optic nerve
ตรวจวัดสายตา ใช้Snellen chart
ตรวจลานสายตา เช่น ใช้วิธีการแบบเผชิญหน้า
การตรวจจอตา ใช้เครื่องตรวจตา
คู่ที่3 Oculomotor nerve
คู่ที่4 Trochlear nerve
คู่ที่6 Abducens nerve
ใช้Penlight
ดูขาดของpupil รูปร่าง Reactionต่อแสง(เฉพาะคู่3)
การกลอกตาขึ้นลง เหลือบไปข้างขวา และข้างซ้าย(คู่ที่3,4,6)
คู่ที่5 Trigeminal nerve
ตรวจความรู้สึกเจ็บ โดยใช้เข็มหมุดปลายแหลม แตะตั้งแต่
หน้าผาก แก้ม คาง รวมทั้งศีรษะและมุมคาง
ความรู้สึกสัมผัส โดยใช้สำลีแตะบริเวณตามตำแหน่งที่ใช้เข็มแตะ เพื่อทำการเปรียบเทียบ
คู่ที่7 Facial nevre
สังเกตกล้ามเนื้อบริเวณใบหน้าว่าเท่ากันทั้งสองข้าง
ให้ยักคิ้ว หลับตา ยิงฟัน และยิ้มให้ดู
ทดสอบการรับรส 2/3 ของลิ้นด้านหน้า
คู่ที่8 Vestibulocochlear nerve
ทดสอบการได้ยิน โดยการเปรียบเทียบ Ari Conduction กับ Bone conduction
ใช้Tuning Fpork
วิธีWeber'testและRinne'test
ฟังเสียงกระซิบ หรือเสียงนาฬิกาในระยะห่าง1-2ฟุต
คูที่9 Glossopharharyngeal nerve
คู่ที่10 Vagus nerve
สังเกตว่ามีเสียงแหบขึ้นหรือเสียงจมูกหรือไม่
ให้ร้อง อา แล้วสังเกตการยกตัวของลิ้นไก่
ทดสอบGag reflex
ทดสอบการรับรส ใช้เกลือหรือน้ำตาลวางที่ไม้กดลิ้นที่สะอาด และแตะที่โคนลิ้น สอบถามว่ารสอะไร ตอบถูกแปลว่าปกติ
คู่ที่11 Accessory nerve
ให้ผู้ป่วยหันไปด้านใดด้านหนึ่ง และพยายามดันคางกลับทางเดิม คนปกติจะสามารถต้านแรงผู้ตรวจได้และจะเห็นกล้ามเนื้อSternocleidomastiod เกร็งตัวอย่างชัดเจน
วิธีตรวจกล้ามเนื้อ Trapizius ให้ผู้ป่วยนั่งหรือยืนตัวตรงๆ สังเกตระดับไหล่ว่าเท่ากันหรือไม่ กล้ามเนื้อลีบหรือไม่
ผู้ตรวจกดไหล่ผู้ป่วยเพื่อดูกำลังกล้ามเนื้อ
คู่ที่12 Hypoglossal nerve
อ้าปากแลบลิ้นเข้าออกเร็วๆ พร้อมตวัดลิ้นไปมา สังเกตขนาดและลักษณะของลิ้น
GLASGOW COMA SCALE
1.EYE OPEN
Spontaneously 4 คะแนน
To verbal command 3 คะแนน
To pain 2 คะแนน
None 1 คะแนน
2.VERBAL RESPONSE
Oriented 5 คะแนน
Confused conversation 4 คะแนน
Inappropriate words 3 คะแนน
Incomprehensible sounds 2 คะแนน
None 1 คะแนน
3.MOTOR RESPONSE
Obeys commands 6 คะแนน
Localizes pain 5 คะแนน
Flexion withdrawal 4 คะแนน
Flexion abnormal 3 คะแนน
Extension 2 คะแนน
None 1 คะแนน
ระดับความรุณแรง
13-15 คะแนน รุณแรงระดับต่ำ
9-12 คะแนน รุณแรงปานกลาง
3-8 คะแนน รุณแรงมาก ต้องได้รับการช่วยเหลือด่วน
การตรวจกำลังแขนขา
กำลังปกติ 5 คะแนน
สามารถต้านแรงผู้ตรวจได้แต่ไม่เต็มที่ 4 คะแนน
เคลื่อนไหวต้านแรงโน้มถ่วงโลกได้แต่ต้านแรงผู้ตรวจไม่ได้ 3 คะแนน
ขยับได้ตามแนวราบ 2 คะแนน
กระดิกนิ้วได้ 1 คะแนน
ไม่มีการเคลื่อนไหวเลย 0 คะแนน
การตรวจระบบประสาทมอเตอร์
(Motor System)
ตรวจกระดูกและข้อ
ใช้เทคนิคการดูและการคลำ
การตรวจข้อ โดยการประเมินการเคลื่อนไหว โดยวัดดูขอบเขตการเคลื่อนไหว
การตรวจน้ำในข้อเข่า
Ballotment test
การตรวจกล้ามเนื้อ
ขนาดของกล้ามเนื้อ
ปกติ คือ เท่ากันทั้งสองข้าง เหมาะสม
ไม่มีตำแหน่งกดเจ็บ ไม่มีก้อน
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อ
ปกติ คือ มีความตึงตัวระดับหนึ่งตลอดเวลา
กำลังของกล้ามเนื้อ
มักตรวจกล้ามเนื้อต่างๆที่ใช้ในการทำกิจวัตรประจำวัน
โดยใช้ท่าทางต่างๆในการประเมินกำลังของกล้ามเนื้อ เช่น งอ เหยียด กาง หุบ หมุน คว่ำ หงาย กำ
ระดับกำลังของกล้าม แบ่งเป็นGrade 0-5
ขอบเขตการเคลื่อนไหวของข้อ
เป็นการตรวจในทิศทางตามขอบเขตการเคลื่อนไหวชองแต่ละข้อมีการวัดมุมองศาโดยละเอียดเปรียบเทียบกับคนทั่วไป ในรายที่มีปัญหาการเคลื่อนไหวของข้อ
มี2แบบ
Active ROM คือ ผู้ใช้บริการเคลื่อนไหวข้อด้วยตนเอง
Passive ROM คือ ผู้ตรวจทำให้ข้อเคลื่อนไหว
การตรวจระบบประสาทรับรู้สึก
(Sensory System)
Pain Sensation,Touch Sensation
การทดสอบความจำแนกลักษณะของวัตถุโดยการสัมผัส
Vibration Sensation
การรับรู้สิ่งที่เขียนบนผิวหนัง
Traced Figure Identification
การรับความรู้สึกสั่นสะเทือน โดยการใช้ซ้อมเสียงความถี่
การตรวจรีเฟล็กซ์
แบ่งระดับความไวดังนี้
4+ ไวมาก
3+ ไว
2+ ปรกติ
1+ น้อยกว่าปกติ
0 ไม่มี
การตรวจปฏิกิริยาตอบสนอง
แบ่งเป็น 2 ชนิด
การตอบสนองชนิดลึก
Biceps reflex
ตรวจการทำงานของเส้นประสาทคู่ที่ C5 และ
Musculocutaneous nerve
ทำโดยให้ผู้รับบริการงอข้อศอกเล็กน้อย ผู้ตรวจวางนิ้วหัวแม่มือลงบนBiceps tendon กดปลายนิ้วหัวแม่มือลงเล็กน้อย ใช้ไม้เคาะ
รีเฟล็กซื
Triceps reflex
ตรวจการทำงานของเส้นประสาทคู่ที่C6,C7และRadial nerve
โดยให้ปลายแขนห้อย ใช้ไม้เคาะตรงบริเวณเอ็นของกล้ามเนื้อ Triceps brachealis(ประมาณ 2 นิ้วเหนือข้อศอกด้านหลัง)
Quadriceps reflex
ตรวจการทำงานของเส้นประสาทคู่ที่ L2-L4และfemoral nerve
โดยให้ผู้รับบริการนั่งห้อยเท้าที่ขอบเตียง พยาบาลใช้ไม้เคาะรีเฟล็กซ์บริเวณPatella tendon
การตอบสนองชนิดตื้น
Corneal reflex
ทดสอบการทำงานเส้นประสาทคู่ที่ 5
Abdominal reflex
ตรวจการทำงานของT8-T12
Cremasteric reflex
ทดสอบการทำงานของ L1-L2
COORDINATION
ตรวจหน้าที่ในการประสานงานกันของระบบประสาทและกล้ามเนื้อ
finger to finger
finger to nose
finger to nose to finger
heel to knee
Romberg test
Plantar reflex
ทดสอบการทำงานของ S1-2