Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนทัศน์การพัฒนาท้องถิ่น - Coggle Diagram
กระบวนทัศน์การพัฒนาท้องถิ่น
กระบวนทัศน์การพัฒนา
Paradigm แปลว่า ทฤษฎี หมายถึง
แนวความคิด
มโนทัศน์
ค่านิยม
ความเข้าใจรับรู้
การปฏิบัติ/แนวปฏิบัติ
มุมมองต่อปรากฏการณ์ความสัมพันธ์ อันนำไปสู่การวิจัยและการปฏิบัติ
ช่วยทำให้เราเข้าใจปรากฏการณ์ (ปัญหา) จนนำไปสู่การแก้ไข
และเพื่อช่วยให้เราสามารถพิสูจน์สมมติฐาน ควบคู่กับทฤษฎีและเครื่องมือที่จะนำไปใช้
ประกอบไปด้วย 3 กระบวนทัศน์หลัก
กระบวนทัศน์หลัก
รูปแบบการพัฒนาในกระบวนทัศน์หลัก
การพัฒนาในยุค
เปลี่ยนชนบท เป็น เมือง
เปลี่ยนสังคมเกษตร เป็น สังคมอุตสาหกรรม
Change agent เป็น รัฐ
การสื่อสารเพื่อพัฒนาในยุค
ใช้สื่อมวลชนสร้างความทันสมัย
ใช้กลยุทธ์สื่อมวลชนแทนที่สื่อประเภทอื่นๆ ที่มี Media strategies
รูปแบบการสื่อสารในยุค
เน้น vertical / comm / powerful media
เน้น top-down flow
Centralization
Non-partcipation
เน้น persuasion
กระบวนทัศน์การพึ่งพา
พบว่ากระบวนทัศน์หลักก่อให้เกิดผลกระทบเชิงลบ
จากการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเพราะช่องว่างของคนรวยกับคนจนมากขึ้น
เน้นการพัฒนาเศรษฐกิจเพียงมิติเดียวมากเกินไป
เป็นการพัฒนาตาม”แผนพัฒนาเศรษฐกิจ” เท่านั้น (ฉบับที่1-2) ซึ่งการพัฒนาประเทศไม่ดีขึ้นเนื้องจาก
ความล้มเหลวของกระบวนทัศน์หลัก
อันตรายจากสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ
จำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้น
วิกฤตการณ์ขาดแคลนน้ำมัน (ลดการส่งออกน้ำมัน)
การเปิดประเทศจีน
กระบวนทัศน์ทางเลือก
การพัฒนาอยู่บนพื้นฐานกระบวนทัศน์เฉพาะของตนเองโดยเฉพาะในแต่ละท้องถิ่น
โดยลดความเป็นสากล เพิ่มความเป็นท้องถิ่น เน้นพัฒนาแต่ละท้องที่เน้นการมีส่วนร่วมของประชาชน ในลักษณะการพัฒนาแบบล่างขึ้นบน
รูปแบบวิจัยคือ เชิงปริมาณ