Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
จริยธรรมและธรรมาภิบาล (2/2), รุจาภา บุญรุ่งเรือง 62123471167 - Coggle…
จริยธรรมและธรรมาภิบาล (2/2)
การบริหารบ้านเมืองที่ดี
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี
- ประกอบด้วยหลักการพื้นฐาน 6 ประการ
หลักความพร้อมรับผิด
หลักความคุ้มค่า
หลักความมีส่วนร่วม
หลักความโปร่งใส
หลักคุณธรรม
หลักนิติธรรม
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546
5.มีการปรับปรุงภารกิจของส่วนราขการให้มีความทันสถานการณ์
6.ประชาชนได้รับความอำนวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองความต้องการ
4.ไม่มีขั้นตอนปฏิบัติเกินความจำเป็น
3.มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่า
2.เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
7.มีการประเมินผลการปฎิบัติราชการสม่ำเสมอ
1.เกิดประโยชน์สุขของประชาชน
หลักธรรมาภิบาล 10 ประการ
หลักนิติธรรม
หลักความเสมอภาค
หลักความโปร่งใส เปิดเผย
หลักการมีส่วนร่วม
หลักภาระรับผิดชอบ
หลักการกระจายอำนาจ
หลักการตอบสนอง
หลักคุณธรรม จริยธรรม
หลักประสิทธิภาพ
หลักประสิทธิผล
จรรยาบรรณนักบริหารและนักรัฐศาสตร์
1.จรรยาบรรณนักบริหาร
สุภาพ อ่อนโยนกับผู้ใต้บังคับบัญชาและบุคคลทั่วไป
พึงงดเว้นอบายมุขทั้งปวง
มีความซื่อสัตย์สุจริต
รับผิดชอบต่อสิ่งที่เกิดขึ้นกับหน่วยงาน
ไม่สร้างความเดือดร้อนแก่ตนเอง หรือผู้อื่น
รักษาความลับของผู้บังคับบัญชา
ปกครองด้วยวิธีสร้างสรรค์
ไม่ใช้อิทธิพลหาประโยชน์ส่วนตัว
มีความรอบคอบ เห็นว่าอะไรควร ไม่ควรปฎิบัติ
ศึกษาค้นคว้าอยู่เสมอ เพื่อความรู้ที่ทันสมัย
มีความกล้าหาญ กล้าเผชิญต่อการใส่ร้าย
ตั้งมั่นอยู่ในความยุติธรรมและให้ความเสมอภาค
เป็นผู้มีจินตนาการ มีภาพแห่งอนาคตที่ชัดเจน มีการวางแผน
มีเมตตา กรุณา ยึดหลักพรหมวิหาร 4
เป็นผู็ให้มากกว่าผู้รับ
มุ่งทำงานเพื่อความเจริญก้าวหน้าของหน่วยงาน
เป็นผู้เสีสละ ใจกว้าง มีน้ำใจ
2.จรรยาบรรณนักรัฐศาสตร์
ไม่ควรใช้วิชาชีพเพื่อหาประโยชน์ในทางมิชอบ
จะทำอะไรมีสติ ว่าอะไรควรทำ ไม่ควรทำ
ไม่ควรใช้วิชาชีพเพื่อลาภยศ อำนาจ
ไม่ใช้วิชาชีพสนับสนุนการเมืองเผด็จการ
เคารพสิทธิ์ของประชาชน
พึงระลกว่าทุกสิ่งเป็นอนิจจัง
ยึดมั่นในหลักนิติธรรม หลักประชาธิปไตย
การใช้อำนาจนั้นเป็นการรับใช้ประชาชน
มีความพยายามพากเพียร ภักดีต่อชาติ ศาสตร์ กษัตริย์
เชื่อมั่นในเกียรติยศ ศักดิ์ศรี
ตั้งอยู่ใน สุจริต 3 ประการ
เป็นผู้รอบรู้ทั้งศาสตร์และศิลป์
รับใช้ประชาชน
แนวคิดเเละหลักการเกี่ยวกับธรรมาภิบาล
ธรรมาภิบาล
เป็นการบริหารงานภาครัฐให้เกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ที่มีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ ซื่อสัตย์ สุจริต
ตัวชี้วัดของสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน(ก.พ.)
6 องค์ประกอบ
หลักความโปร่งใส่
หลักความรับผิดชอบ
หลักนิติธรรม
หลักความคุ้มค่า
หลักการมีส่วนร่วม
หลักคุณธรรม
คุณลักษณะของธรรมาภิบาล
การมีกฎเกณฑ์ที่ยุติธรรมและชัดเจน
การมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
การมีกลไกการเมืองที่ชอบธรรม
หลักนิติธรรม
การมีพันธะความรับผิดชอบต่อสังคม
หลักความเสมอภาค
การมีสุจริตและโปร่งใส
หลักมุ่งเน้นฉันทามติ
การมีส่วนร่วมของประชาชน
แนวทางการบริหารองค์การโดยยึดหลักธรรมาภิบาล
การนำหลักความรับผิดชอบมาใช้ในการบริหารงาน
การนำหลักความคุ้มค่ามาใช้ในการบริหาร
การนำหลักความโปร่งใสมาใช้ในการบริหารงาน
การนำหลักการมีส่วนร่วมมาใช้ในการบริหารงาน
การนำหลักนิติธรรมมาใช้ในการบริหารงาน
การนำหลักคุณธรรมมาใช้ในการบริหารงาน
พุทธธรรมมาภิบาล
หมายถึง การบริหารงานตามหลักธรรมขององค์สมเด็จพระพุทธเจ้า โดยการบริหารตน บริหารคน บริหารงาน
3.หลักความโปร่งใส
4.หลักการมีส่วนร่วม
2.หลักคุณธรรม
5.หลักความรับผิดชอบ
1.หลักนิติธรรม
6.หลักความคุ้มค่า
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีกับธรรมาภิบาล
เป็นยุทธศาสตร์ฉบับแรกของไทย ที่เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2560 กำหนดไว้ในมาตรา 65 วิสัยทัศน์ คือ
"ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่นคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง"
เป้าหมาย และประเด็นการพัฒนายุทธศาสตร์
2.ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
3.ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
1.ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง
4.ยุทธศาสตร์ด้านการปรับเปลี่ยนค่านิยม และวัฒนธรรม การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
5.ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ยุทธศาสตร์ด้านปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564)กับธรรมาภิบาล
6.ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบและธรรมาภิบาลในสังคมไทย
7.ยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์
5.ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างความมั่นคงแห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศสู่ความมั่งคั่ง และยั่งยืน
8.ยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม
4.ยุทธศาสตร์การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนายั่งยืน
9.ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ
3.ยุทธศาสตร์การสร้างความเข็มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน
10.ยุทธศาสตร์ความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนา
2.ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ำในสังคม
1.ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์
เป็นแผนที่จัดทำบนพื้นฐานของยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
น้อมนำหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง
และ
คนเป็นศูนย์กลางในการพัฒนา
มาเป็นแนวในการพัฒนาประเทศ
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยื่น มุ่งไปสู่ "
ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน
"
ประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน 2552
มาตรฐานจริยธรรมสำหรับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง และเจ้าหน้าที่ 9 ประการ
5.ให้บริการแก่ประชาชนด้วยความรวดเร็ว มีอัธยาศัย
6.ให้ข้อมูลจ่าวสารอย่างครบถ้วน ถูกต้อง
4.ยืนหยัดทำสิ่งที่ถูกต้อง เป็นธรรม และถูกฎหมาย
7.การมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน
3.ยึดถือประโยชน์ส่วนรวมเป็นหลัก
8.การยึดมั่นในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข
2.การมีจิตสำนึกที่ดี ซื่อสัตย์สุจริต และรับผิดชอบ
9.การยึดมั่นในหลักจรรยาวิชาชีพขององค์กร
1.ยึดมั่นในคุณธรรมจริยธรรม
หมวด 2 จริยธรรมข้าราชการพลเรือน 10 ประการ
5.เคารพและปฎิบัติตามรัฐธรรมนูญและกฎหมายอย่างตรงไปตรงมา
6.เป็นกลางทางการเมือง ให้บริการแก่ประชาชนอย่างเป็นธรรม
4.ไม่กระทำการที่ขัดขวางผลประโยชน์ของส่วนรวม
7.ทำงานไม่ถ่วงเวลาให้เนิ่นนาน และไม่บิดเบือนข้อเท็จจริง
3.ต้องแยกเรื่องส่วนตัวออกจากหน้าที่
8.รักษาคุณภาพและมาตรฐานวิชาชีพ
2.ต้องมีจิตสำนึกที่ดีและรับผิดชอบต่อหน้าที่
9.ยึดมั่นในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข
1.ยึดมั่นในจริยธรรมและการกระทำในสิ่งที่ถูกต้อง เป็นธรรม
10.ต้องเป็นแบบอย่างที่ดีในการดำรงตน รักษาชื่อเสีบง ภาพลักษณ์
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2560 กับธรรมาภิบาล
หมวด 1 บททั่วไป
หมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย
ประกาศใช้ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 134 ตอนที่ 40 ก หน้า 1 วันที่ 6 เมษายน 2560
หมวด 5 หน้าที่ของรัฐ
หมวด 9 การขัดกันแห่งผลประโยชน์
หมวด 6 แนวนโยบายแห่งรัฐ
หมวด 12 องค์กรอิสระ
หมวด 7 รัฐสภา
หมวด 16 ปฏิรูปประเทศ
หมวด 8 คณะรัฐมนตรี
รุจาภา บุญรุ่งเรือง 62123471167